สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
เศษส่วน.
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
เทคนิคการตั้งคำถามที่ดี (Using Effective Question Techniques)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
การเขียน.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
การเขียนโครงการ.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ จำนวนคละ และเศษเกิน มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1.1 มีความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจำนวน (Number Sense) เกี่ยวกับจำนวนนับ เศษส่วน ค 1.1.2 อ่าน เขียนตัวหนังสือและตัวเลขแสดงจำนวนนับ เศษส่วนได้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เมื่อกำหนดเศษเกินให้ สามารถเขียนในรูปจำนวนคละ และ เมื่อกำหนดจำนวนคละให้ สามารถเขียนในรูปเศษเกินได้

เศษเกินและจำนวนคละ การเขียนเศษเกินให้อยู่ในรูปจำนวนคละ พิจารณารูปที่แรเงาแสดงเศษส่วนต่อไปนี้ 6 4 จากรูปเขียนเป็นเศษส่วนได้ 6 4 4 2 4 = + 2 4 1 2 4 6÷4 = 1 เศษ 2 = 1 1 = + = 4 6 4 2 6 4 1 2 4 ดังนั้น =

การเขียนเศษเกินให้อยู่ในรูปจำนวนคละ การเขียนเศษเกินให้อยู่ในรูปจำนวนคละ อาจทำได้โดย นำตัวส่วนไปหารตัวเศษ ผลหารที่ได้จะเป็นจำนวนนับ เศษที่เหลือเป็นตัวเศษ โดยมีตัวส่วนคงเดิม ดังนี้ 17 5 เขียนในรูปจำนวนคละ ได้โดย 17 ÷ 5 = 3 เศษ 2 17 5 3 2 5 เขียนในรูปจำนวนคละ ได้

๓ ๒ ๕ วิธีทำ เนื่องจาก ดังนั้น ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเศษเกิน ให้อยู่ในรูปจำนวนคละ 13 5 วิธีทำ เนื่องจาก 13 ÷ 5 2 เศษ 3 = 13 5 3 ดังนั้น 2 = 5 ๒ ๓ ๕ ตอบ

๘ ๓ ๙ วิธีทำ เนื่องจาก ดังนั้น 35 9 ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนเศษเกิน ให้อยู่ในรูปจำนวนคละ วิธีทำ เนื่องจาก 35 ÷ 9 3 เศษ 8 = 35 9 8 ดังนั้น 3 = 9 ๓ ๘ ๙ ตอบ

การเขียนจำนวนคละให้อยู่ในรูปเศษเกิน 5 จากรูปเขียนเป็นเศษส่วนได้ 2 6 2 5 6 5 6 = 1 + 1 + 6 6 5 6 17 6 = + + = 2 5 6 17 6 = ดังนั้น

การเขียนจำนวนคละให้อยู่ในรูปเศษเกิน การเขียนจำนวนคละให้อยู่ในรูปเศษเกิน อาจทำได้โดย นำตัวส่วนไปคูณจำนวนนับแล้วบวกด้วยตัวเศษ ผลที่ได้เขียนเป็นตัวเศษ โดยมีตัวส่วนคงเดิม ดังนี้ 4 3 7 เขียนในรูปเศษเกิน ได้โดย (7  4) + 3 = 31 4 3 7 31 7 เขียนในรูปเศษเกิน ได้

๒๕ ๗ วิธีทำ ดังนั้น ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจำนวนคละ ให้อยู่ในรูปเศษเกิน 3 4 7 ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจำนวนคละ ให้อยู่ในรูปเศษเกิน 3 4 7 (73)+4 7 วิธีทำ = 21+4 7 = 3 4 7 25 7 ดังนั้น = ๒๕ ๗ ตอบ

๕๓ ๘ วิธีทำ ดังนั้น ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนจำนวนคละ ให้อยู่ในรูปเศษเกิน 6 5 8 ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนจำนวนคละ ให้อยู่ในรูปเศษเกิน 6 5 8 (86)+5 8 วิธีทำ = 48+5 8 = 6 5 8 53 8 ดังนั้น = ๕๓ ๘ ตอบ

สาระสำคัญ การเขียนเศษเกินในรูปจำนวนคละ อาจทำได้โดย นำตัวส่วนไปหารตัวเศษ ผลหารที่ได้จะเป็นจำนวนนับ เศษที่เหลือเป็นตัวเศษโดยมีตัวส่วนคงเดิม การเขียนจำนวนคละในรูปเศษเกิน สามารถหาตัวเศษ ได้โดยนำตัวส่วนคูณกับจำนวนนับ แล้วบวกกับตัวเศษ โดยมีตัวส่วนคงเดิม