โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น Nuclear Power Plants in Japan

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

การตรวจรถก่อนใช้งาน (Truck Inspection)
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
การผลิตไบโอดีเซลด้วยพลังงานจากแสงอาทิตย์
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
เรื่องการฟุ้งกระจายของสารเคมีในอากาศ
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การใช้แรงงานหญิงและเด็ก
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังน้ำ
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
Combined Cycle Power Plant
ด้านความปลอดภัยด้วยกล้อง CCTVในโรงพยาบาล
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 28 สิงหาคม 2552
การประหยัดไฟฟ้า และพลังงาน
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
ระบบหล่อลื่น และระบายความร้อน
ระบบระบายความร้อน ระบบระบายความร้อนมี 2 ประเภทด้วยกันคือ
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะ(VVT-I : VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE) ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด.
ช่างเทคนิคโตโยต้า>>ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
ความหมายของเครื่องปรับอากาศ
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษ
v v v v อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตเครื่องแต่งกายจากผ้า รีดโดยใช้เตารีดไอน้ำ
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
Evaporative Cooling System
เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
ข้อเสนอ (ตามเอกสารของ กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า สภาอุตสาหกรรม)
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
มาตรการประหยัดพลังงาน
แผนกลยุทธ์ 5 ด้าน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
LEAF BUD CUTTING in ROSE เลือกดอกกุหลาบที่ มีลักษณะสมบูรณ์ ที่อยู่ในระยะดอก ตูม ก้านตรง มีใบ 5 ใบย่อยที่กางเต็มที่
ผลิตผล ทาง การเกษ ตร ปัญหาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant ปัญหาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant เมืองโอกุมะ.
แนวโน้มของเทคโนโลยีที่ น่าจะมีใช้ในอนาคต
ปุ่มชงกาแฟ ปุ่มจ่ายน้ำร้อน ปุ่มจ่ายไอน้ำ วาล์วจ่ายไอน้ำ ก้านจ่ายไอน้ำ
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
งานวิจัย (Thesis Project)
โครงการจัดทำชุดควบคุมก๊าซ LPG รั่วไหล แบบอัตโนมัติ ให้กับแหล่งจ่ายกลางก๊าซในโรงอาหาร โรงพยาบาลหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น Nuclear Power Plants in Japan โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น เริ่มพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษ 1950 โรงไฟฟ้า ทดสอบโรงแรกของ JPDR เริ่มการเดินเครื่องตั้งแต่ปี 1963 และ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์โรงแรกของ Tokai Power ขนาดกำลังผลิต 166 เมกะวัตต์ (MW) เริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์จ่ายไฟฟ้าในปี 1966 ปัจจุบัน ญี่ปุ่นเดินเครื่องโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์จำนวน 55 โรง คิดเป็นกำลังผลิตติดตั้งรวม 49,580 MW และจ่ายไฟฟ้าคิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 33 % โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมา ไดอิชิ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าแบบน้ำเดือด (Boiling Water Reactor, BWR) จำนวน 6 โรง Dr.Kamol TAKABUT

โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น 03/04/60 Dr.Kamol TAKABUT

โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมา ไดอิชิ Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant, Okuma Unit Type First criticality Electric power Fukushima I – 1 BWR October 1970[1] 460 MW Fukushima I – 2 July 18, 1974 784 MW Fukushima I – 3 March 27, 1976 Fukushima I – 4 October 12, 1978 Fukushima I – 5 April 18, 1978 Fukushima I – 6 October 24, 1979 1,100 MW Dr.Kamol TAKABUT

(Boiling water reactor, BWR) ปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด (Boiling water reactor, BWR) อาคารคลุมปฏิกรณ์ ไอน้ำ ถังปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ชุดแท่งควบคุม กังหันไอน้ำ น้ำ น้ำถ่ายเทความร้อน ชุดถ่ายเทความร้อน ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ส่วนผลิตไฟฟ้า Dr.Kamol TAKABUT

Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant, Okuma Dr.Kamol TAKABUT

สรุปความเสียหายเบื้องต้นของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมา ในวันที่ 11 มีนาคม 2554 เกิดแผ่นดินไหวระดับ 8.9 ริทเทอร์ ขณะนั้น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงที่ 4 – 6 หยุดซ่อมบำรุงตามกำหนดเวลา ส่วนโรงที่ 1 – 3 ที่เดินเครื่องอยู่ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวทั้ง 3 โรง ดับเครื่องโดยอัตโนมัติ ขณะที่ปฏิกรณ์ปิดตัวเองลง เครื่องยนต์ดีเซลสำหรับระบบปั๊มน้ำฉุกเฉิน เพื่อระบายความร้อนให้แก่ปฏิกรณ์ ก็เดินเครื่องโดยอัติโนมัติ เพื่อระบายความร้อนให้แก่ปฏิกรณ์ แต่ผลของแผ่นดินไหว (After Shock) และ Tsunami ที่กระแทกเข้ามา ทำให้เครื่องยนต์ดีเซลดับลงอย่างกระทันหัน ทำให้ปฏิกรณ์ ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์โรงที่ 1 เกิดความร้อนสูงมาก ทำให้ไอน้ำจากน้ำที่หล่อเย็นปฏิกรณ์ เพิ่มความดันสูงกว่าความดันใช้งานปกติ จนทำให้ระบบท่อไอน้ำ เกิดการแตกตัว ส่งผลต่ออาคารคลุมปฏิกรณ์เสียหาย โดยเกิดเสียงระเบิด ขึ้นที่โรงที่ 1 ในเวลาประมาณ 0730 น. (GMT) เกิดควันขาวพวยพุ่งขึ้นมา Dr.Kamol TAKABUT

เจ้าหน้าที่บริษัทผู้ผลิตปฏิกรณ์ Hitachi ให้ความเห็นว่า ตามรายงาน เสียงระเบิดคงเกิดจากระบบท่อไอน้ำระเบิด ยังไม่มีการรายงานความเสียหายของ ถังปฏิกรณ์ อย่างไรก็ตาม เมื่อมีความคืบหน้าของสถานะการณ์ จะส่งข่าวสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป Fukushima Daiichi Nuclear Power Plant, Okuma Dr.Kamol TAKABUT