ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge) บทที่ 1 ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
Activity #1
Activity #2 1. ลากเส้นตรง 5 เส้นผ่านทุกจุดโดยไม่ยกดินสอ 2. ลากเส้นตรง 4 เส้นผ่านทุกจุดโดยไม่ยกดินสอ .
ทดสอบความสามารถ 1 2 3 4 5
สมองซีกขวา ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะก่อนอายุ 3 ขวบ สมอง 2 ส่วน ซีกซ้าย - ช่วยในการใช้ภาษาพูด การวิเคราะห์ การจัดลำดับก่อนหลัง การเรียนรู้ ภาษาและคณิตศาสตร์ ซีกขวา - ช่วยเรื่องภาษา ท่าทาง จินตนาการ ศิลปะ ไหวพริบและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การคิดสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ สมองซีกขวา ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาทักษะก่อนอายุ 3 ขวบ
ระดับความคิดสร้างสรรค์ 1. ความคิดสร้างสรรค์ระดับต้น 2. ความคิดสร้างสรรค์ระดับกลาง ผังความคิด 3. ความคิดสร้างสรรค์ระดับสูง เทคโนโลยี 1 2 3 การนำไปใช้ 1 2 3 1 2 3
บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ - พยายามถามคำถามและหาคำตอบใหม่ ๆ ที่กระตุ้นความคิด ตลอดเวลา - พยายามคิดโดยการอุปมาเปรียบเทียบ (Analogy) - พยายามคิดในรูปแบบของความเป็นไปได้ - เรียนรู้จากการอ่านอย่างสร้างสรรค์ - ศึกษาอย่างเป็นระบบในกระบวนการของนวัตกรรม - เต็มใจรับ โดยไม่คาดหวัง - ไม่คิดว่ามีคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียวเท่านั้น
ลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ บุคคลที่สร้างสรรค์ ใช้เวลาหลายปีในการสร้าง ความเชี่ยวชาญในสาขาของตน การศึกษา การศึกษาไม่จำเป็นต่อความคิดสร้างสรรค์ การศึกษาก่อให้เกิดการใช้ตรรกะมีความโน้มเอียงที่ ขัดขวางต่อความคิดสร้างสรรค์
สติปัญญา บุคคลที่สร้างสรรค์ไม่จำเป็นต้องมีไอคิวสูง เป็นผู้ที่มีความสามารถ ในการใช้สติปัญญาฉับไวต่อปัญหา มีความยืดหยุ่น มีการคิดเชิงมโนภาพและการสังเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร บุคลิกภาพ เป็นผู้ที่ยอมรับความเสี่ยง มีความเป็นอิสระ ยืนหยัด มีแรงจูงใจสูง ชอบสงสัยยอมรับความคิดใหม่ สามารถอดทนต่อภาวะกำกวม เชื่อมั่นตนเอง สามารถอดทนต่อความโดดเดี่ยว
วัยเด็ก มีประสบการณ์ในวัยเด็กทีพบกับเหตุการณ์แตกต่างกัน หลาย ๆ เหตุการณ์ เช่น ครอบครัวแตกแยก ฐานะครอบครัวขึ้นลง นิสัยทางสังคม ไม่ใช่ชอบคิดเรื่องตนเองหรือต่อต้านผู้อื่น และชอบที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลอื่น
การจัดการเพื่อให้บุคคลมีความคิดสร้างสรรค์ 1. การสร้างการยอมรับการเปลี่ยนแปลง 2. การสนับสนุนความคิดใหม่ 3. การเปิดโอกาสให้มีการปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น 4. การอดทนต่อความล้มเหลว 5. การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและการให้อิสระ ในการปฏิบัติเพื่อบรรลุความสำเร็จ 6. การแสดงคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการสร้างความคิดสร้างสรรค์ 1. ขั้นรวบรวมวัตถุดิบ 1.1 วัตถุดิบเฉพาะ 1.2 วัตถุดิบทั่วไป 2. ขั้นบดย่อยวัตถุดิบ 3. ขั้นความคิดฟักตัว 4. ขั้นกำเนิดความคิด 5. ขั้นปรับแต่งและพัฒนาก่อนไปใช้ปฏิบัติ
เทคนิคการฝึกอบรมที่สำคัญที่ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 1. เทคนิคการกระตุ้น (Fluency Techniques) 2. เทคนิคการเบี่ยงเบน (Excursion Techniques) 3. เทคนิคผู้บุกเบิกรูปแบบ(Pattern Breakers) 4. เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming) 5. เทคนิคความสัมพันธ์ที่ถูกบังคับ (Forced Relationship)
สมอง 2 ส่วน ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ (Knowledge) 1. ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) 3. ความรู้ที่ฝังอยู่ในองค์กร(Embedded Knowledge)
2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) ระดับของความรู้ 1. ความรู้ (Knowledge) Ex. 2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) 3. การนำไปปรับใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินผล (Evaluation) 1 2 3 4
Any Problem ????