การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ความน่าจะเป็น Probability.
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
(Descriptive Statistics)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
School of Information Communication Technology,
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันนวัตกรรม การเรียนรู้ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะ กายภาพบำบัด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of central tendency) การใช้ตัวเลขเพียงตัวเดียวหรือค่าใดค่าหนึ่งเพื่อเป็นตัวแทนและบรรยายลักษณะข้อมูลแต่ละชุด เพื่อสะดวกในการจดจำและสรุปเรื่องราวที่สำคัญของข้อมูลชุดนั้น

วิธีการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic mean) มัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode)

ตัวกลางเลขคณิต ค่าเฉลี่ย (Mean) หรือตัวกลาง คือค่าที่ได้จากการเอาผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด สัญลักษณ์คือ x (อ่านว่า เอ็กซ์-บาร์) ของกลุ่มตัวอย่าง

ค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ X = X n X แทน ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล N แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมดของ กลุ่มตัวอย่าง (กรณีกลุ่มตัวอย่าง)

กรณีกลุ่มประชากร  = X N X แทน ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล N แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมดของ ประชากร

จงหาค่าเฉลี่ยของน้ำหนักของบรรณารักษ์ 5 คน 45 50 55 60 65 (45+50+55+60+65)/5 275/5 55

ค่ากลางของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่ X = fX N N= f

X 45 50 55 60 65 f 5 4 3 2 1 N=f=15 fX 225 200 165 120 65 fX=775 775/15 = 51.667

ความพึงพอใจต่อบริการสืบค้น E-Journal X f fX มากที่สุด 5 5 25 มาก 4 5 20 ปานกลาง 3 10 30 น้อย 2 15 30 น้อยที่สุด 1 20 20

f=N =5+5+10+15+20 =55 fX = 25+20+30+30+20 X =125/55 =2.273

ค่าเฉลี่ยข้อมูลที่ได้แจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม ใช้สูตรเดียวกันกับข้อมูลแจกแจงความถี่แบบไม่จัดกลุ่ม คือ X = fX N N= f แต่แทนค่า X ด้วยค่ากึ่งกลางของแต่ชั้น (ขีดจำกัดล่างบวกขีดจำกัดบน หารด้วยสอง)

ประสบการณ์ทำงานของบรรณารักษ์ ช่วงปี X f fX 1-5 3 20 60 6-10 8 15 120 11-15 13 10 130 16-20 18 5 90 21-25 23 5 115

N = f = 20+15+10+5+5 = 55 fX = 60+120+130+90+115 = 515 X = 515/55 = 9.364

คุณสมบัติที่สำคัญของค่าเฉลี่ย ผลรวมของความต่างระหว่างข้อมูลแต่ละตัวจากค่าเฉลี่ยของคะแนนชุดนั้นมีค่าเท่ากับ 0 ผลรวมของความต่างกำลังสองของข้อมูลแต่ละตัวจากจำนวน M จะน้อยที่สุดเมื่อ M เท่ากับค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนั้น

ค่าเฉลี่ยหรือตัวกลางของข้อมูลชุดใดๆ จะอยู่ระหว่างข้อมูลที่มีค่ามากสุดและข้อมูลที่มีค่าน้อยสุด ในกรณีที่ข้อมูลทุกตัวเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าๆ กัน ค่าเฉลี่ยของข้อมูลจะเปลี่ยนไปตามค่านั้น ถ้าข้อมูลทุกตัวหารหรือคูณด้วยค่าคงที่ตัวหนึ่ง ค่าเฉลี่ยจะเปลี่ยนไปเท่ากับค่าเฉลี่ยเดิมหารหรือคูณด้วยค่าคงที่ตัวนั้นๆ

มัธยฐาน (Median/Mdn/Md) ค่าที่อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูลทั้งชุด เมื่อเรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อยหรือจากน้อยไปหามาก ค่าที่แสดงให้ทราบว่ามีจำนวนข้อมูลที่มากกว่าและน้อยกว่าค่านี้อยู่ประมาณ 50 % (แบ่งข้อมูลออกเป็นสองฝ่ายเท่าๆ กัน)

55 คือค่ามัธยฐานของน้ำหนักของบรรณารักษ์ แสดงให้ทราบว่า มีบรรณารักษ์ 50 % ที่มีน้ำหนักมากกว่า 55 Kg และ มีบรรณารักษ์ 50% ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 55 Kg

ค่ามัธยฐานข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ นำข้อมูลเรียงจากมากไปน้อย หรือน้อยไปมา มัธยฐานคือข้อมูลตัวที่อยู่กึ่งกลางของชุดนั้น 2 3 4 5 6 7 มัธยฐานคือ 4

ถ้าข้อมูลเป็นเลขคู่ มัธยฐานคือผลบวกข้อมูลสองตัวที่อยู่กึ่งกลางหารด้วยสอง 2 4 6 8 มัธยฐานคือ 4+6 / 2 คือ 5

การใช้ค่ามัธฐานแทนค่าเฉลี่ยในกรณีที่ข้อมูลทั้งชุดที่มีค่าใดค่าหนึ่งต่างจากกลุ่มมาก เช่น วันลา 2 3 4 5 6 42 ค่าเฉลี่ย = มัธยฐาน =

1 3 5 7 9 11 13 2 3 4 7 8 10 45 1 3 7 9 10 2 4 7 9 30 2 4 6 8 10 12 1 2 3 6 8 11 13 30

ฐานนิยม (Mode/Mo) คือค่าของข้อมูลตัวหนึ่งที่มีความถี่สูงที่สุด หรือ ค่าที่ปรากฏบ่อยที่สุด 1 2 2 3 3 4 4 4 4 1 2 2 3 3 3 4 4 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ประสบการณ์ทำงานของบรรณารักษ์ X f 3 20 ฐานนิยม คือ 8 15 13 10 18 5 23 5

ข้อมูลที่จัดกลุ่ม ฐานข้อมูล คือค่ากลางของชั้นคะแนนที่มีความถี่สูงสุด ช่วงปี X f 1-5 3 20 ฐานนิยมคือ 6-10 8 15 11-15 13 10 16-20 18 5 21-25 23 5

ประโยชน์ของฐานนิยม ใช้วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของข้อมูลที่อยู่ในมาตรานามบัญญัติ (Nominal scale) หรือข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) ซึ่งไม่สามารถหาค่าเฉลี่ยหรือมัธยฐานได้

ถ้าต้องการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของข้อมูลต่อไปนี้ นักศึกษา มร.ชอบพรรคการเมืองใดมากที่สุด ไทยรักเธอ 5 ประชาเบ่งบาน 4 มหาประชา 2 ชาติเธอ 3 ฐานนิยมคือ พรรคไทยรักเธอ

ข้อมูลนักแสดงหญิงคนโปรดของคนอายุ 40 ขึ้นไป จารุณี 5 หมื่น เนาวรัตน์ 4 หมื่น สุพรรณษา 3 หมื่น จินตรา 6 หมื่น ฐานนิยม คือ จินตรา

โค้งปกติ (Normal Curve) X, Mdn, Mo

โค้งเบ้ขวา Mo, Mdn, X

โค้งเบ้ซ้าย X, Mdn, Mo

แบบฝึกหัด จงหาค่าเฉลี่ย มัธยฐานและฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ 5 4 7 6 9 11 21 22 11 12 4 4 5 5 3 8 10 12 14 16 8

จงหาค่าเฉลี่ย และฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ จงหาค่าเฉลี่ย และฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ ช่วงคะแนน ความถี่ 1-3 2 4-6 3 7-9 4 10-12 2 13-15 1