การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
การศึกษารายกรณี.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
Use Case Diagram.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดกระทำข้อมูล.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
Analyzing The Business Case
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
แบบสอบถาม (Questionnaires)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements) บทที่ ๒ การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements) 22/7/03 บทที่ 2

การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements) วัตถุประสงค์เพื่อ 1. เล็งเห็นความสำคัญ ของการกำหนดปํญหาที่ชัดเจน เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาที่ถูกต้อง 2. ทราบถึงระบบงานใหม่ที่จะพัฒนานั้น ต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ ในแง่มุมต่างๆ 3. ทราบความสำคัญของ Requirements และวิธีศึกษาแหล่งข้อมูล เพื่อหารายละเอียด 22/7/03 บทที่ 2

การกำหนดปัญหา (Problem Definition) สมมติว่า ระบบเก่า เกิดปัญหาในขั้นตอนการลงทะเบียนดังนี้ มีนักศึกษาจำนวนมาก ที่ต้องลงทะเบียน เจ้าหน้าที่ไม่พอบริการ ใช้เอกสารจำนวนมาก บางครั้งมีไม่ครบถ้วน มีนักศึกษาลงทะเบียนผิดพลาด อาจารย์ที่ปรึกษา ให้คำปรึกษาไม่ทั่วถึง การชำระเงิน มีหลายรูปแบบ เช่น เงินสด กองทุนกู้ยืม ผ่อนชำระ ใช้เวลาการลงทะเบียนมาก ต่อนักศึกษา ๑ คน ใช้บุคลากรจำนวนมาก ฯลฯ 22/7/03 บทที่ 2

ทำให้เกิดแนวการคิดพัฒนาระบบใหม่ให้มีประสิทธิภาพ จึงสรุปปัญหาระบบเก่าที่เกิดขึ้น ระบบที่มีอยู่ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้ใช้ หรือผู้ใช้ไม่พึงพอใจต่อระบบที่มีอยู่ ขาดการประสานงานที่ดี ระบบที่ใช้อยู่ ไม่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานในอนาคต ระบบที่มีอยู่ มีเทคโนโลยีที่ล้าสมัย ระบบที่มีอยู่ มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ระบบที่มีอยู่ ทำงานผิดพลาด บ่อยครั้ง ระบบเอกสาร ไม่เป็นระเบียบ ทำให้การค้นหาข้อมูลล่าช้า 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

ขั้นตอนที่จะต้องพิจารณา ปัญหาที่มีอยู่ และความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบงานใหม่ ขนาดของระบบที่ต้องการ ทางเลือกที่เป็นไปได้ ในการแก้ปัญหา ต้นทุนและประโยชน์ที่จะได้รับ ในแต่ละทางเลือกของการแก้ปัญหา 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 1. ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) 2. ความเป็นไปได้ในการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) 3. ความเป็นไปได้ ในเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

ระบบใหม่ ควรสนับสนุนยุทธศาสตร์ ขององค์การ ๓ ด้าน คือ 1. ด้านผลผลิต (Productivity) 2. ด้านความแตกต่าง (Differentiation) 3. ด้านการจัดการ (Management) 22/7/03 บทที่ 2

การกำหนดความต้องการ (Requirements) 22/7/03 บทที่ 2

ความต้องการ (Requirements) ที่ดี ประกอบด้วย 1. ตรงกับวัตถุประสงค์ (ควรหาข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง) 2. ระบุความต้องการต่างๆ ในรูปเอกสารที่เข้าใจทั้ง ๒ ฝ่าย 3. ตกลงร่วมกันทั้ง ๒ ฝ่าย (อย่าคิด หรือวิเคราะห์ ด้วยตนเองทั้งหมด 4. คำจำกัดความต่างๆ บนเอกสาร ต้องชัดเจน 5. มีการยอมรับ ในการปรับเปลี่ยนในภายหน้า 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. เอกสาร (Documentation) 2. แบบสอบถาม (Questionnaires) 3. การสัมภาษณ์ (Interview) 4. การสังเกต (Observation) 22/7/03 บทที่ 2

1. เอกสาร (Documentation) ได้ข้อมูลมาก และง่ายต่อการรวบรวม 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

2. แบบสอบถาม (Questionnaires) รวบรวมข้อมูลได้จำนวนมาก และในพื้นที่กว้าง ประหยัดเวลาในการเดินทาง เหมาะกับองค์การที่มีพนักงานจำนวนมาก คำตอบที่ได้ ใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ แบบสอบถามที่ดี ต้องครอบคลุมทุกกลุ่ม ทุกฝ่ายในหน่วยงาน 22/7/03 บทที่ 2

ชนิดของแบบสอบถาม คำถามปลายเปิด คำถามปลายปิด 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

คำถามปลายเปิด มีอิสระในการตอบ ได้รับคำตอบในลักษณะความคิดเห็นที่ละเอียด ไม่ควรตั้งคำถามในลักษณะกว้างเกินไป ผู้ตอบอาจสับสน และได้คำตอบที่ไม่ตรงประเด็น 22/7/03 บทที่ 2

คำถามปลายปิด มีการกำหนดคำตอบให้ มีตัวเลือกที่มีความชัดเจน สามารถประยุกต์ กับคอมพิวเตอร์ เพื่อคำนวณหาค่าสถิติต่างๆ ได้ 22/7/03 บทที่ 2

22/7/03 บทที่ 2

3. การสัมภาษณ์ (Interview) สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างละเอียด สามารถซักไซ้ในคำถาม เพื่อให้เกิดความเข้าใจในปัญหา สามารถพูดชักนำปัญหาต่างๆ ได้ตรงประเด็น สามารถสังเกตความรู้สึก สีหน้า ท่าทางจากผู้ถูกสัมภาษณ์ได้ เป็นการเก็บข้อมูลทางตรง จากการสนทนากัน 22/7/03 บทที่ 2

4. การสังเกต (Observation) ได้จากการเฝ้าสังเกต ดูการปฏิบัติงาน (เช่น พฤติกรรมการทำงาน การใช้เวลา การเคลื่อนไหว ฯลฯ) ของบุคคลต่างๆ บันทึกข้อสังเกตต่างๆ ลงในแบบฟอร์ม ที่เรียกว่า แบบฟอร์มสังเกตการณ์ ไม่สามารถทราบทัศนคติ และความรู้สึกของผู้ถูกสังเกตได้ หากผู้ถูกสังเกตรู้ตัว อาจทำงานดีขึ้นเป็นพิเศษ หรือเลวลงได้ 22/7/03 บทที่ 2