โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ (ศ.363) กันยายน 2553
ภาพรวม ทศวรรษ 1970 การผลิตเริ่มกระจายไปทั่วโลก แรงงานหญิง อุตสาหกรรม / ธุรกิจข้ามชาติที่ใช้ แรงงานเข้มข้น ทศวรรษ 1980 ระบบเศรษฐกิจเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ นโยบายการค้า และ การปรับโครงสร้าง ใช้แรงงานหญิงมากขึ้น ทศวรรษ 1990 บริการดูแล ‘care work’ เข้าสู่กระบวนการโลกาภิวัตน์ การย้ายถิ่นระหว่างประเทศมีผู้หญิงมากขึ้น
การผลิต กับ ธุรกิจข้ามชาติ ทศวรรษ 1970 การผลิต กับ ธุรกิจข้ามชาติ การลงทุนของบรรษัทข้ามชาติ โอนการผลิตจากประเทศรวย สู่ประเทศจน “รุ่นที่หนึ่ง” – เอเชียอาคเนย์ เม็กซิโก ไอร์แลนด์ แสวงหาต้นทุนต่ำ แข่งขัน การจ้างงานผู้หญิง ขบวนการพัฒนา เน้น ส่งเสริมการส่งออก ต่างจากสมัย 1950 และ 1960 การพัฒนาเน้น อุตสาหกรรมที่ทดแทนการนำเข้า ผู้หญิงถูกกันออกไปอยู่ชายขอบ
ทศวรรษ 1970 (ต่อ) การศึกษาในตอนต้นๆ มักเน้นไปที่ หลักฐานในเชิงลบ ผู้หญิงเป็น “เหยื่อ” ของการพัฒนา ค่าจ้างต่ำ สัญญาการจ้างงานสั้นๆ ไม่แน่นอน สภาพการ ทำงานแย่ การเน้นส่งออก มุ่งดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ ตลาดแรงงานไม่มีการควบคุม แรงงานหญิงเสียเปรียบแรงงานชาย เพราะ....
ทศวรรษ 1980 โลกาภิวัตน์ ขยายตัวอย่างรวดเร็ว การอยากเป็นส่วนหนึ่งของ “ตลาดโลก” รัฐบาลประเทศ กำลังพัฒนาต้องยอมรับนโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ลดกฎระเบียบการเงิน เปิดเสรีให้การลงทุนจากต่างชาติ เปิดการค้าเสรี โมเดลการพัฒนาที่เน้นส่งออก ตลาดแรงงานไม่เข้มงวด (informalization) การลงทุนย้ายไปสู่ประเทศ “รุ่นสอง” อเมริกากลาง อินโดนีเซีย อัฟริกาเหนือ อินเดีย จีน งานออฟฟิศ เริ่ม เข้าสู่ตลาดโลก
ผลด้านการจ้างงานสำหรับผู้หญิง ซับซ้อน หลากหลาย ผลด้านการจ้างงานสำหรับผู้หญิง ซับซ้อน หลากหลาย หลักฐานระยะหลัง งานในอุตสาหกรรมส่งออกเพิ่มค่าจ้างให้แรงงานหญิง ในอัตราสูงกว่าการจ้างงานที่เกิดจากการลงทุนในประเทศ หลากหลาย เช่น สาขาบริการ สัดส่วนของแรงงานหญิงน้อยลง (defeminization) เทคโนโลยีใหม่ๆ มักจะ อุปสงค์ต่อแรงงานชาย ความสามารถในการเพิ่มทักษะของผู้หญิงถูกจำกัด เพราะ ความรับผิดชอบด้านครอบครัว ตารางการทำงานเปลี่ยน ไม่เหมาะกับผู้หญิง ผู้ชายเริ่มหันมาแย่งงาน ยอมรับค่าจ้างต่ำลง (women’s wages) การลงทุนเน้นอุตสาหกรรมที่ใช้ทุนสูง
ผู้หญิงเข้าสู่แรงงานมากมาย ค่าจ้างเริ่มสูงขึ้น แต่ยังต่ำกว่าชายอยู่ดี ประสบการณ์ของประเทศในเอเชียอาคเนย์ ผู้หญิงเข้าสู่แรงงานมากมาย ค่าจ้างเริ่มสูงขึ้น แต่ยังต่ำกว่าชายอยู่ดี ยิ่งเศรษฐกิจขยายตัวเร็ว ช่องว่างระหว่างหญิงชายยิ่งกว้าง สรุปว่า ผู้หญิงได้ประโยชน์ แต่... มีช่องว่างด้านค่าจ้าง เม็กซิโก – แรงงาน “ปริมาณไม่จำกัด” การว่างงานสูง ไต้หวัน – ผู้หญิงได้ประโยชน์จำกัด ความไม่เท่าเทียม ด้านค่าจ้างสูง การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี ไปสู่งานระดับฝีมือสูง บังกลาเทศ – ไม่กล้าบังคับใช้มาตรฐานแรงงานสากล
ผลกระทบต่อการผลิตทั่วโลก จาก อินเดีย และ จีน ทศวรรษ 1990 - ปัจจุบัน ผลกระทบต่อการผลิตทั่วโลก จาก อินเดีย และ จีน จากโลกาภิวัตน์ด้านการผลิต บริการดูแล (care work) ผู้หญิงมีบทบาทสูงในการย้ายแรงงานข้ามชาติ วิกฤติบริการดูแล ในประเทศรวย อุปสงค์ต่อแรงงานหญิง ในสาขาบริการ (คนรับใช้ พี่เลี้ยงเด็ก / คนชรา) ผู้หญิงหางานง่ายกว่า แต่...ต้องทิ้งเด็ก และครอบครัวตนเอง ในประเทศจน ผู้หญิงเข้าสู่ตลาดแรงงานมากขึ้น แต่งานมีไม่พอ วิกฤตเศรษฐกิจ ยอมรับบทบาทใหม่ๆของผู้หญิง โดยเฉพาะการย้ายถิ่น
คนที่อยู่ข้างหลัง (ผู้ชาย??) รับบทบาทงานที่ ผู้หญิงเคยทำ บทบาทหญิงชายเปลี่ยนไปจากดั้งเดิม ความอิสระ พึ่งตนเอง อำนาจในการตัดสินใจ – ในครอบครัว ชุมชน ประเทศ เงินที่แรงงานหญิงส่งกลับ กลายเป็นแหล่งรายได้สำคัญ ของการอยู่รอดของครัวเรือน คนที่อยู่ข้างหลัง (ผู้ชาย??) รับบทบาทงานที่ ผู้หญิงเคยทำ อาจย้ายถิ่นด้วยเหตุผลอื่นๆ (นอกจากรายได้)