การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
คำสั่ง : ให้นิสิตทุกคนส่ง การบ้านอาทิตย์หน้า ทั้ง Report II – III อย่างละ 1 หน้า.
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การเลือกคุณภาพสินค้า
Lecture 8.
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
Training Management Trainee
การดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ฐานข้อมูลพลังงานประเทศไทย
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
“การวิเคราะห์ความผันผวนราคายางพารา”
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
MK201 Principles of Marketing
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
Simulation Fundamentals of AMCS.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
NIDA Macro Forecast แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2013 – 2014 โดยนิด้าโมเดล
เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: เงินเฟ้อ VS วิกฤตยูโร NIDA Macro Forecast
Analyzing The Business Case
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
บทที่ 3 Planning.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
ขั้นตอนการวิเคราะห์ การกำหนดโจทย์/ ประเด็นที่ต้องการทดสอบ – ต้องมีความชัดเจน การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การกำหนดกรอบการวิเคราะห์ การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ครูธีระพล เข่งวา นักประวัติศาสตร์ หมายถึง ข้อใด ก. ผู้ที่สามารถเรียน ประวัติศาสตร์ได้ดี ข. อาจารย์ผู้สอน ประวัติศาสตร์ได้ดี ค. ผู้ที่มีประสบการณ์ทาง.
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
สมพงศ์ อ่อนประเสริฐ พาณิชย์จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี การเคลื่อนไหวราคาสินค้าเดือนมกราคม 2551 และแนวโน้ม.
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)

การพยากรณ์พลังงาน Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries. บทที่ 5 Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits. บทที่ 2

การพยากรณ์พลังงาน   อนาคตด้านพลังงานมีความไม่แน่นอนมาก ราคาน้ำมันผันผวน และมีตัวแปรมาก การพยากรณ์อนาคตพลังงานสำคัญสำหรับหลายฝ่าย

การพยากรณ์พลังงาน   ผู้ผลิต: ใช้ผลพยากรณ์ในการตัดสินใจลงทุน โครงการลงทุนใช้เงินมาก เวลาก่อสร้างยาว และอายุใช้งานยาว เช่น โรงไฟฟ้าใช้เชื้อเพลิงอะไร ขนาดเท่าใด

การพยากรณ์พลังงาน ผู้ใช้พลังงาน: ใช้ผลพยากรณ์ในการวางแผนล่วงหน้า เลือกอุปกรณ์เครื่องจักรที่ใช้พลังงาน เช่น โรงงานปูนซิเมนต์ รถยนต์

การพยากรณ์พลังงาน รัฐบาล: ใช้ผลพยากรณ์ในการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค พลังงานมีผลต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ การลงทุน การนำเข้า การพัฒนาพลังงานทดแทน

การพยากรณ์พลังงาน พยากรณ์อะไรเกี่ยวกับพลังงาน? ส่วนใหญ่พยากรณ์ demand พยากรณ์ supply ต้องอาศัยความรู้ทางเทคนิค เช่น ธรณีวิทยา วิศวกรรมปิโตรเลียม ไม่กล้าพยากรณ์ราคาระยะยาว ส่วนใหญ่พยากรณ์ไม่ถูก

การพยากรณ์พลังงาน เทคนิคการพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน (energy demand/consumption) แนวโน้มตามประวัติศาสตร์ (historical trends) การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (time series analysis)

การพยากรณ์พลังงาน เทคนิคการพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน (energy demand/consumption) แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) แนวโน้มทางเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic trends)

การพยากรณ์พลังงาน เทคนิคการพยากรณ์ความต้องการใช้พลังงาน (energy demand/consumption) การวางแผนแบบ “ชุดเหตุการณ์” (scenario planning)

1. แนวโน้มตามประวัติศาสตร์ (historical trends) อนาคตเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกันกับในอดีต ใช้ exponential function Q0 : demand ในปีแรก Qt : demand ในปี t r : อัตราการเปลี่ยนแปลง

1. แนวโน้มตามประวัติศาสตร์ (historical trends) ใช้ได้เฉพาะกับช่วงสั้นๆ ระยะยาว อัตราเปลี่ยนไม่คงที่ จึงพยากรณ์จุดเปลี่ยน (turning points) ไม่ได้ Jevons พยากรณ์วิธีนี้ในปี 1865 ว่าอังกฤษจะใช้ถ่านหิน 2600 ล้านตันในปี 1960 แต่ใช้จริงเพียง 200 ล้านตัน

2. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (time series analysis) แบบตัวแปรเดียว ใช้วิธีการทางสถิติคำนวณ a1 ....... an Demand ในอดีตมีอิทธิพลต่อ demand ปัจจุบันและอนาคต

2. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (time series analysis) อาจแสดงวงจร (cycle) ได้ แต่ไม่สามารถอธิบาย turning points อาจใช้มากกว่าหนึ่งตัวแปรได้

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ทฤษฎีพื้นฐาน: พฤติกรรมผู้บริโภค Individual demand for energy: D = f (ราคาสินค้า, ราคาสินค้าทดแทน, รายได้ผู้บริโภค, รสนิยม)

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ทฤษฎีพื้นฐาน: พฤติกรรมผู้บริโภค Aggregate demand for energy: D = f (ราคาสินค้า, ราคาสินค้าทดแทน, ปริมารการบริโภคในอดีต, รายได้รวม, ประชากร, จำนวนพาหนะ/อุปกรณ์, เทคโนโลยี, shocks ต่างๆ)

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ตัวอย่างที่ 1: Tawin Nilbai: The Total demand for Crude Oil in Thailand, Master Thesis, Econ. TU 1978 คำนวณ demand ของผลิตภัณฑ์น้ำมันต่างๆ เพื่อรวมเป็น demand สำหรับน้ำมันดิบ

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ตัวอย่างที่ 1: Tawin Nilbai: คำนวณ demand สำหรับน้ำมันดีเซล DD = f ( PD, B, T, ML, AGR, GNP, POP) ใช้ข้อมูลปี 1955 – 1974 ln DD = -13.16 – 0.827 ln PD + 1.019 ln(B+T+ML) + 0.806 ln AGR

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ตัวอย่างที่ 2: Arayah Preechametta, Econometric Model for Energy Demand, Master Thesis, Econ. TU 1984 คำนวณ demand ของผลิตภัณฑ์น้ำมันต่างๆ ที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรม

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ตัวอย่างที่ 2: Arayah Preechametta demand ของน้ำมันเตาในภาคอุตสาหกรรม Qf = f ( Pf, Pd, Pe, Poten, DM, Qf-1 ) ln Qf = 8.11 – 0.13 ln Pf - 0.9 ln Pd + 1.24 ln Pe + 0.51 ln Poten + 0.23 ln DM – 0.0004 ln Qf-1

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) ตัวอย่างที่ 3: Microeconomics ของ Pindyck and Rubinfeld บทที่ 2 demand for gasoline in U.S. โดยเน้นการตอบสนองตามช่วงเวลาต่างๆ demand ยืดหยุ่นในระยะยาวมากกว่าในระยะสั้น

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) demand for gasoline in U.S. โดยเน้นการตอบสนองตามช่วงเวลาต่างๆ

3. แบบจำลองเศรษฐมิติ (econometric models) demand for gasoline in U.S. โดยเน้นการตอบสนองตามช่วงเวลาต่างๆ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้เวลา เช่น การเปลี่ยนรถที่ประหยัดน้ำมันมากขึ้น