การกระทำทางสังคม (Social action)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
บทเรียนโปรแกรม Power Point
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
ระบบการบริหารการตลาด
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
Knowledge Management (KM)
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
บทบาทและข้อจำกัดของฝ่ายอำนวยการสำนักงานกฎหมายและคดี
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
(Organizational Behaviors)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การค้ามนุษย์.
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
โครงสร้างขององค์การ.
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระทำทางสังคม (Social action) บทที่ 5 การกระทำทางสังคม (Social action)

ความหมายของการกระทำทางสังคม การกระทำทางสังคม (social action) หมายถึง การกระทำที่มีผู้อื่นเป็นเป้าหมายแห่งการกระทำของเรา และผู้อื่นซึ่งเป็นเป้าหมายนั้นสามารถเข้าใจเจตนาแห่งการกระทำของเราที่มีต่อเขาได้

ลักษณะของการกระทำทางสังคม 1. มีผู้อื่นเป็นเป้าหมายของการกระทำ และการกระทำนั้นเป็นการกระทำที่เจตนา 2. การสื่อสารเป็นการกระทำทางสังคมชนิดหนึ่ง 3. การกระทำของเราเปลี่ยนเมื่อบุคคลเป้าหมายเปลี่ยน

การปฏิสัมพันธ์ หมายถึง การกระทำทางสังคมซึ่งกันและกัน ผู้ที่ปฏิสัมพันธ์กันต่างมีแต่ละฝ่ายเป็นเป้าหมายในใจ คือ เรากระทำการทางสังคมต่อผู้อื่น และผู้อื่นกระทำการทางสังคมต่อเรา ลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ คือ ผู้กระทำ ผู้ถูกระทำ/ตีความ ผู้ถูกกระทำ/ตีความ ผู้กระทำ

1. การปฏิสัมพันธ์ เป็นการกระทำทางสังคมสองด้าน 1. การปฏิสัมพันธ์ เป็นการกระทำทางสังคมสองด้าน การปฏิสัมพันธ์ เป็นการกระทำที่มีผู้อื่นเป็นเป้าหมายของการกระทำ เป็นการกระทำที่มีเจตนาจะกระทำ ผู้อื่นที่เป็นเป้าหมายของเราเมื่อได้รับการกระทำทางสังคมจากเรา จะมีการ กระทำโต้ตอบกลับมาและมีเราเป็นเป้าหมายในใจของเขา

2. การปฏิสัมพันธ์ เป็นส่วนหนึ่งของการขัดเกลาทางสังคม การปฏิสัมพันธ์เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล, ตอบสนองความต้องการ, แลกเปลี่ยนความเข้าใจความคาดหวังของกันและกัน ข้อมูลที่เราได้รับมาจะช่วยให้มีการปรับตัวเข้าหากัน จะช่วยให้มีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ความเชื่อ ความคิด ของเราอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อให้ตัวเราสามารถเข้ากันได้กับผู้อื่น

3. เราไม่สามารถกำหนดทิศทางการปฏิสัมพันธ์ได้อย่างแน่นอนตายตัว 3. เราไม่สามารถกำหนดทิศทางการปฏิสัมพันธ์ได้อย่างแน่นอนตายตัว การปฏิสัมพันธ์กันเราไม่สามารถรู้ได้ว่าผู้ที่เราปฏิสัมพันธ์ด้วย จะแสดงพฤติกรรมโต้ตอบเราเช่นไร เมื่อเขาแสดงพฤติกรรมออกมาแล้ว เราจึงสามารถตีความหมายแล้วจึงมีพฤติกรรมโต้ตอบกลับไป เพราะฉะนั้นเราจึงไม่สามารถบอกได้ล่วงหน้าว่าสถานการณ์ที่เราเข้าร่วมในการปฏิสัมพันธ์นั้นจะลงเอยในรูปใด ซึ่งเราจะต้องแก้ไขเหตุการณ์นั้น ๆ แบบเฉพาะหน้า

4. การแปลความหมายผิดอาจนำไปสู่การปฏิสัมพันธ์ที่เป็นปัญหาได้ 4. การแปลความหมายผิดอาจนำไปสู่การปฏิสัมพันธ์ที่เป็นปัญหาได้ ในบางกรณีอาจมีการแปลความหมายของพฤติกรรมที่โต้ตอบกันผิดไปจากเจตนาของผู้แสดงพฤติกรรม ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาในการโต้ตอบกันได้ เพราะฉะนั้นการปฏิสัมพันธ์อาจเกิดปัญหาขึ้น ถ้าคู่ปฏิสัมพันธ์ไม่สามารถเข้าใจความหมายที่ต้องการสื่อต่อกันได้ บางครั้งถ้าเป็นเรื่องที่ไม่สำคัญมากก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตทรัพย์สินหรือความปลอดภัย อาจก่อความเสียหายร้ายแรงได้

แบบแผนทางสังคม หมายถึง การปฏิสัมพันธ์ที่เป็นระบบ แบบแผน ผู้ปฏิบัติสามารถรู้ได้ล่วงหน้าว่าเมื่อพบสถานการณ์เช่นนี้ต้องปฏิบัติตนเช่นใด เมื่อมีแบบแผนทางสังคมทำให้เราสะดวกมากขึ้นในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น ทำให้เราไม่ต้องตัดสินใจว่าควรจะมีพฤติกรรมโต้ตอบเช่นใดจึงจะเหมาะสม แบบแผนทางสังคมเป็นการกระทำที่ทำซ้ำบ่อย ๆ จนเราคาดการณ์ได้ว่า เมื่ออยู่ในสถานการณ์เช่นนี้เขาและเราจะมีพฤติกรรมอย่างไร

ประโยชน์ของแบบแผนทางสังคม ช่วยให้เราสามารถดำเนินชีวิตได้ง่ายขึ้น เป็นการปฏิสัมพันธ์ที่มีรูปแบบตายตัวแน่นอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตัวของสมาชิกในสังคม และบางส่วนก็ใช้ในการควบคุมคนในสังคมให้ปฏิบัติอยู่ในกรอบ

การกระทำทางสังคมสู่การจัดระเบียบสังคม ใน กลุ่มขนาด 2 คน (dyad) แบบแผนทางสังคมจะมีลักษณะเป็นแบบที่รู้กัน เพราะเคยปฏิบัติต่อกันอย่างไรเป็นประจำ เมื่อครั้งใดไม่ปฏิบัติตามนั้น คนใดคนหนึ่งก็จะเริ่มรู้สึกว่ามีอะไรผิดปกติหรืออีกฝ่ายกำลังละเมิดแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา ใน กลุ่มขนาด 3 คน (triad) เราก็จะพบแบบแผนทางสังคม แบบแผนในกลุ่มที่มีคนมากขึ้น ต้องมีการบอกกล่าวให้สมาชิกได้รับรู้โดยทั่วกัน จึงจะปฏิบัติได้สอดคล้องกัน

กลุ่มขนาด 3 คนขึ้นไป แบ่งได้เป็นแบบ ทางการ ได้แก่ องค์กรธุรกิจหรือหน่วยราชการต่าง ๆ และไม่เป็นทางการ ได้แก่ ครอบครัว กลุ่มเพื่อนหรือคนคุ้นเคยในองค์กรแบบทางการ กลุ่มแบบทางการ 3 แบบ 1.Coercive Organizations 2.Utilitarian Organizations 3.Normative Organizations

สังคม แบ่งได้เป็นหลายระดับ คือ ชุมชน (แบบสังคมชนบท และเมือง (Gemeinschaft and Gesellschaft)) รัฐชาติ (Nation-States) สังคมโลก (World -System)