จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
ความหมายของโครงงาน โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด.
โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด มีความพร้อมและสนใจ.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
การวางแผนและการดำเนินงาน
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การวิจัยการศึกษา.
วิธีคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์อย่าง มีไอเดียแบบเฉพาะตัว
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดกระทำข้อมูล.
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การเพิ่มผลผลิต Productivity
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
รูปแบบการสอน.
การปลูกพืชผักสวนครัว
ทักษะการคิดวิเคราะห์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การเขียนรายงาน.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
การเขียนเชิงกิจธุระ.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
10 นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
วิธีสอนแบบอุปนัย.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง วิทยาศาสตร์เพื่อการสร้างสรรค์ โดย นางศิริพร ตันติยมาศ รหัสประจำตัว 46252707

จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น

จุดประสงค์นำทาง อธิบายความหมายของคำว่าวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้ สามารถนำมาใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ เข้าใจถึงคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ และตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง ได้ของความรู้วิทยาศาสตร์เมื่อมีข้อมูลหลักฐานเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้ เกี่ยวกับสิ่ง ต่างๆในธรรมชาติ และกระบวนการค้นคว้า ความรู้ที่มีขั้นตอน มีระเบียบและแบบแผน

ในสมัยโบราณคนบางส่วนมีความเชื่อว่า โลกที่เราอาศัยอยู่นี้มีลักษณะแบนและบางส่วน เชื่อว่าโลกกลม อาริสโตเติ้ล ซึ่งเป็นนักปราชญ์ และนักวิทยาศาสตร์ ชาวกรีก ได้สนับสนุนที่ว่า โลกที่ว่าโลกมีลักษณะเป็นทรงกลม

ต่อในสมัยของนิวตัน ได้ทดลองเห็นว่า โลกของเรามีลักษณะเป็นวงกลม ที่มีขั้วแบนเล็กน้อย ความยาวของแกนของโลก บริเวณศูนย์สูตร จะยาวกว่าแกนระหว่างโลกทั้งสอง

วิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 2 อย่าง 1. วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ 2 วิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 2 อย่าง 1.วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ 2.วิทยาศาสตร์ประยุกต์

วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ คือ ความรู้ ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ข้อเท็จจริง หลักการ กฎ ทฤษฎี นักวิทยาศาสตร์ ที่ศึกษาด้านนี้เรียกว่า นักวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์

วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่นำความรู้พื้นฐานมาดัดแปลง นำมาใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต เช่น ความรู้ทางการแพทย์ การเกษตร และวิศวกรรม ผู้ศึกษาด้านนี้เรียกว่า นักวิทยาศาสตร์ประยุกต์

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร 1. การเป็นคนช่างสังเกต 2 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร 1. การเป็นคนช่างสังเกต 2. การเป็นคนช่างสงสัย 3. การเป็นคนมีเหตุผล 4. การเป็นคนมีความพยายามและความอดทน 5. การเป็นคนมีความคิดริเริ่ม 6. การเป็นคนทำงานอย่างมีระเบียบ

ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ได้มาอย่างไร 1. การเป็นคนช่างสังเกต การสังเกต หมายถึง การใช้ประสาทได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ กายสัมผัส สำรวจสิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อให้ได้ข้อมูลละเอียดในสิ่งนั้น

กาลิเลโอ ได้ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์เพื่อส่องดวงจันทร์ ดาวเสาร์ ดาวพฤหัสบดี และดาวดวงอื่น ๆ เขาได้สังเกตการแกว่งไปมา ของโคมไฟในโบสถ์ กับ ชีพจรของเขา แล้วพบว่า ทั้งสองอย่างใช้เวลาเท่ากัน

2. การเป็นคนช่างคิดช่างสงสัย การเป็นคนช่างคิดช่างสงสัย เป็นลักษณะที่ฝึกฝนให้เกิดได้ เช่น เซอร์ ไอแซค นิวตัน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่ค้นพบความรู้ทางวิทยาศาสตร์มากมาย ได้ ค้นพบกฎแรงดึงดูดระหว่างมวล คือ เป็นลูกแอปเปิ้ลหล่นลงพื้นดิน เกิดความสงสัยว่าทำไม ไม่ลอยไปที่อื่น ในที่สุดก็พบว่า โลกดึงดูดแอปเปิ้ลสู่พื้นโลก  

3. การเป็นคนมีเหตุผล การเป็นคนมีเหตุผลจะต้องมีความเชื่อว่า สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นมาย่อมต้องมีสาเหตุที่ทำให้เกิดขึ้นเสมอ เมื่อนักวิทยาศาสตร์ สงสัยสิ่งใดจะสืบเสาะหาสาเหตุ และรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับสิ่งนั้น พิจารณาอย่างถี่ถ้วน ก่อนจะสรุปสิ่งที่เกิดขึ้น การใช้เหตุผล ทำให้เป็นคนไม่หลงเชื่ออะไรง่ายๆ เมื่อมีเหตุการณ์ เกิดขึ้นต้องพิจารณา อย่างมีเหตุผลและรอบคอบ

4. การเป็นคนมีความพยายาม และความอดทน นักวิทยาศาสตร์ทั้งหลาย ต่างก็ใช้ความพยายาม ความคิด และการทดลองทั้งหลาย ๆครั้ง ด้วยความอดทนและไม่ย่อท้อ ต่ออุปสรรค ตัวอย่าง เช่น ทอมัส แอลวา เอดิสัน นักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริกันประดิษฐ์หลอดไฟฟ้าได้สำเร็จ มาดาม มารี กูรี นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสใช้เวลา 4 ปี ในการแยก ธาตุเรเดียม จากสารกำมันตะรังสี

5. การเป็นคนมีความคิดริเริ่ม หมายถึง การกล้าคิดกล้าทำในสิ่งใหม่ ไม่เคยมีคนคิดหรือทำ มาก่อน สิ่งที่คิดต้องเป็นประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดความ เสียหายแก่ตนเองและผู้อื่น การเป็นคนมีความคิดริเริ่มช่วยให้ได้ความรู้ และสิ่งประดิษฐ์ ใหม่ๆ

6. การเป็นคนทำงานอย่างมีระบบ 6. การเป็นคนทำงานอย่างมีระบบ นักวิทยาศาสตร์มีกระบวนการทำงานอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน เรียกว่า วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือ ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นระบุปัญหา 2) ขั้นตั้งสมมติฐาน 3) ขั้นทดลอง 4) ขั้นสรุป