E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
Object Oriented Language ภาษาเชิงวัตถุ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Entity-Relationship Model
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
Binary Image Processing
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Classification Abstraction
Enhanced Entity-Relationship Model
– Web Programming and Web Database
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
Chapter 2 Database systems Architecture
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การแปลง E-R เป็น Table.
ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
Entity Relationship Model
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Data Modeling Chapter 6.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
ความสัมพันธ์ (Relationship)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (ER-Diagram)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Entity-Relationship Model
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Enhanced Entity-Relationship Modeling
Data Modeling Using the Entity-Relationship Model
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
ขั้นตอนการยื่นขอตรวจคุณสมบัติฯ ทาง INTERNET
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
Introduction to Database
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Chapter 6 : แบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Model)
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต

E-R Model Entity-Relationship Model ใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual Data Model) เพื่ออธิบายถึงเค้าร่างของฐานข้อมูล (Conceptual Database Schema) ซึ่งประกอบด้วย ความหมายของเอนติตี้ (Entity) แอททริบิวต์ (Attribute) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้ (Relationship)

Entity เอนติตี้ หมายถึงวัตถุ (object) หรือแนวคิดที่สามารถบอกความแตกต่างของแต่ละเอนติตี้ได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเก็บข้อมูล เช่น ลูกค้า สินค้า พนักงานขาย การสั่งซื้อสินค้า ประเภทของเอนติตี้ Regular Entity หรือ Strong Entity Weak Entity

Weak Entity

คุณลักษณะของเอนติตี้ เป็นการกำหนดรายละเอียดข้อมูลของเอนติตี้ว่าเอนิตี้ประกอบด้วยแอททริบิวต์อะไรบ้าง Composite Attribute Derived Attribute Multivalued Attribute

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้ แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Relationship) แบบหนึ่งต่อหลาย (One to Many Relationship) แบบหลายต่หลาย (Many to Many Relationship)

Mapping Cardinalities One to one One to many Note: Some elements in A and B may not be mapped to any elements in the other set

Mapping Cardinalities Many to one Many to many Note: Some elements in A and B may not be mapped to any elements in the other set

Example 1:M Relationship Figure 2.18

Example 1:M Relationship Figure 2.20

Example M:N Relationship Figure 2.23

Example M:N Relationship Figure 2.24

Converting M:N Relationship to Two 1:M Relationships Figure 2.25

Converting M:N Relationship to Two 1:M Relationships (con’t.) Figure 2.26

Converting M:N Relationship to Two 1:M Relationships (con’t.) Figure 2.27

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี (Relationship)

ลักษณะของความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนติตี้ (Binary Relationship) ความสัมพันธ์ระหว่างสามเอนติตี้ (Ternary Relationship) ความสัมพันธ์กับเอนติตี้เอง (Recursive Relationship หรือ Unary Relationship)

Three Types of Relationships Figure 3.21

ข้อกำหนดของความสัมพันธ์ Relationship Constraints

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ อาจพิจารณาละเอียดลงไปในข้อกำหนดของความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้ (Participation Constraint) ซึ่งใช้ในการกำหนด คุณสมบัติของแอททริบิวต์ที่เป็นค่าว่าง (Null) หรือไม่เป็นค่าว่าง (Not Null) ขึ้นกับ Business Ruleสามารถแบ่งออกเป็นสองลักษณะคือ Total Participation (Mandatory Participation) Partial Participation (Optional Participation)

Total Participation หมายถึงทุกแถวของเอนติตี้หนึ่ง จะมีข้อมูลของแอททริบิวต์ซึ่งมีความสัมพันธ์กับแอททริบิวต์เดียวกันนี้ในอีกเอนติตี้หนึ่งเสมอ

Partial Participation หมายถึงมีเพียงบางแถวของเอนติตี้หนึ่งที่จะมีข้อมูลของแอททริบิวต์ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับแอททริบิวต์เดียวกันนี้กับอีกตารางหนึ่ง

Participation of an Entity Set in a Relationship Set Total participation (indicated by double line): every entity in the entity set participates in at least one relationship in the relationship set E.g. participation of loan in borrower is total every loan must have a customer associated to it via borrower Partial participation: some entities may not participate in any relationship in the relationship set E.g. participation of customer in borrower is partial