(Impulse and Impulsive force)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การหักเหของแสง (Refraction)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
Application of PID Controller
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Impulse and Impulsive force) การดลและแรงดล (Impulse and Impulsive force) การดล คือการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุ เนื่องจากมีแรงลัพธ์มากระทำ ถ้าแรงลัพธ์มากระทำมากจะใช้เวลาเปลี่ยนโมเมนตัมน้อย แต่ถ้าแรงลัพธ์มากระทำน้อยจะใช้เวลาเปลี่ยนโมเมนตัมมาก และถ้าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ โมเมนตัมของวัตถุไม่เปลี่ยนแปลง แรงลัพธ์ที่กระทำในช่วงเวลาสั้น ๆ เรียกว่า แรงดล

ดูภาพการดล แทน โมเมนตัมของวัตถุก่อนถูกแรงกระทำ แทน โมเมนตัมของวัตถุภายหลังถูกแรงกระทำ แทน ช่วงเวลาที่วัตถุใช้เปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

รถยนต์คันหนึ่งมวล 1000 kg มีความเร็ว 20 m/s ไปทางทิศเหนือ จงหาแรงเฉลี่ยที่ทำให้รถคันนี้มีความเร็วเป็น 15 m/s ในเวลา 2.0 s ลองคิดดู 1

ลูกบอลมวล 200 กรัม ความเร็ว 20 m/s เข้าชนกำแพงแล้วสะท้อนออกมาในแนวเดิมด้วยอัตราเร็วเดิม จงหาแรงเฉลี่ยที่กำแพงกระทำต่อลูกบอล ถ้าลูกบอลกระทบกำแพงนาน 0.05 วินาที ลองคิดดู 2

ลองคิดดู 3 ลูกบอลมวล 2 kg ปล่อยจากที่สูง 1.25 เมตร ในแนวดิ่ง กระทบพื้นราบแล้วสะท้อนกลับขึ้นสูงสุด 0.45 เมตร ถ้าลูกบอลกระทบพื้นในเวลา 0.01 วินาที จงหาแรงที่พื้นกระทำต่อลูกบอล

ลูกเทนนิสมวล 0.2 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 20 m/s กระทบกำแพงแล้วสะท้อนออกด้วยอัตราเร็ว 15 m/s ทำมุม 90o กับแนวเดิม ถ้าช่วงเวลากระทบกำแพงเท่ากับ 0.02 วินาที จงหาแรงดลเฉลี่ย ลองคิดดู 4

ลองคิดดู 5 ลูกบอลเคลื่อนที่กระทบพื้นแล้วสะท้อนออกทำให้เกิดแรงกระทำต่อลูกบอลสัมพันธ์กับระยะเวลาดังกราฟ จงหาแรงดลเฉลี่ยที่เกิดกับลูกบอลในช่วงเวลากระทบพื้น = 0.01 400 200 (N) (s)

ฉีดน้ำในอัตรา 500 cm3/s ด้วยความเร็ว 10 m/s เข้ากระทบชายคนหนึ่งที่ยืนอยู่ ชายคนนี้จะล้มทันทีถ้ามีแรงกระทำมากกว่า 200 N จงวิเคราะห์ว่าชายคนนี้จะล้มหรือไม่ เพราะเหตุใด ให้ความหนาแน่นน้ำเท่ากับ 1 g/cm3 ลองคิดดู 6

กระแสอากาศจากพัดลมตัวหนึ่งที่ใบพัดมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 500 mm และเร็ว 10.0 m/s สัมพัทธ์กับพัดลมซึ่งอยู่นิ่ง ถ้าอากาศมีความหนาแน่น  = 1.20 kg/m3 และคิดว่าอากาศนิ่งไหลเข้าพัดลม จงหาแรงกระทำบนใบพัดลมใน การทำให้เกิดกระแสอากาศนี้ ลองคิดดู 7