Coulomb’s Law and Electric Field Intensity

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
Chapter 7 Poisson’s and Laplace’s Equations
2.5 Field of a sheet of charge
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
การวิเคราะห์ความเร็ว
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
พิจารณาหา D ในช่วง a< ρ <b
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Points, Lines and Planes
แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Application of Graph Theory
ว ความหนืด (Viscosity)
Electric force and Electric field
Electric field line Electric flux Gauss’s law
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ความชันและสมการเส้นตรง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Coulomb’s Law and Electric Field Intensity วัตถุประสงค์ ทราบถึงธรรมชาติของประจุไฟฟ้า ทราบและเข้าใจกฎของคูลอมบ์ และการประยุกต์ใช้ ทราบระบบประจุลักษณะต่างๆรวมถึงการเกิดสนามไฟฟ้าอันเนื่องมาจากระบบประจุนั้นๆ ทราบถึงการหา สมการของStream Lines ในบทนี้เราศึกษาปรากฏการของระบบประจุที่อยู่ใน อวกาศอิสระ ส่วนในบทที่ห้าจะศึกษาที่ตัวกลางอื่น

2.1 Coulomb’s law บ่อยครั้งเราใช้สูตรนี้สะดวกกว่า Colonel Charles Coulomb ทดลองและพบความสัมพันธ์ของแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากประจุไฟฟ้าสองจุดคือ บ่อยครั้งเราใช้สูตรนี้สะดวกกว่า

2.2 Electric Field Intensity พิจารณาประจุโดดๆหนึ่งประจุ Q1 วางอยู่ในอวกาศ ถ้านำประจุ Qt มาวางที่ตำแหน่งไหนก็ตามจะพบว่ามันพร้อมที่จะมีแรงมากระทำต่อตัวมันเสมอ โดยอัตราส่วนของแรงที่กระทำต่อตัวมันกับขนาดของประจุ Qt เอง เราจะเรียกว่า สนามไฟฟ้า ดังนั้นในบริเวณที่มีประจุ Q1 วางอยู่จุดทุกจุดยกเว้นที่ Q1 ล้วนมีสนามไฟฟ้าทั้งสิ้น ดังนั้นสนามไฟฟ้าเป็นเสมือนกับอิทธิพลของระบบประจุที่มีผลต่อบริเวณรอบข้าง

ดังนั้นจุที่เราทราบค่าสนามไฟฟ้า เมื่อมีประจุใดๆมาวางอยู่ ณ จุดนั้น เราจะทราบแรงที่มากระทำทันที สำหรับการหาสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของจุดประจุมากกว่าหนึ่งตัว ก็คือการคิดแบบ Super Position กับทุกจุดประจุ

จุดประจุ 3 nC วางอยู่ 4 จุดคือ P1(1,1,0), P2(-1,1,0), P3(-1,-1,0) และ P4(-1,1,0) จงหาสนามไฟฟ้าที่จุด P(1,1,1) Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P1 Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P2 Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P3 Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P4

2.3 Field due to a continuous volume charge distribution นิยามของความหนาแน่นประจุเชิงปริมาตร (volume charge density)

2.4 Field of line charge ความหนาแน่นประจุเชิงเส้น อาจพิจารณาจาก ลำของ electron ในหลอดรังสีคาโทด ซึ่งสมมุติว่าลอยอยู่ในสภาวะนิ่ง สมมุติว่าลำ electron พิจารณา dQ จากรูปทำให้เกิดสนามไฟฟ้า

จากรูป จะเห็นว่าส่วนประกอบสนามแนว z จะต้องรวมกันเป็นศูนย์

ในกรณีที่ ความหนาแน่นประจุเชิงเส้น ไม่ได้อยู่ในแนวแกน z (อาจจะในตำแหน่งอื่น หรือในแนวแกนอื่น) จะต้องพิจารณา ใหม่