Coulomb’s Law and Electric Field Intensity วัตถุประสงค์ ทราบถึงธรรมชาติของประจุไฟฟ้า ทราบและเข้าใจกฎของคูลอมบ์ และการประยุกต์ใช้ ทราบระบบประจุลักษณะต่างๆรวมถึงการเกิดสนามไฟฟ้าอันเนื่องมาจากระบบประจุนั้นๆ ทราบถึงการหา สมการของStream Lines ในบทนี้เราศึกษาปรากฏการของระบบประจุที่อยู่ใน อวกาศอิสระ ส่วนในบทที่ห้าจะศึกษาที่ตัวกลางอื่น
2.1 Coulomb’s law บ่อยครั้งเราใช้สูตรนี้สะดวกกว่า Colonel Charles Coulomb ทดลองและพบความสัมพันธ์ของแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากประจุไฟฟ้าสองจุดคือ บ่อยครั้งเราใช้สูตรนี้สะดวกกว่า
2.2 Electric Field Intensity พิจารณาประจุโดดๆหนึ่งประจุ Q1 วางอยู่ในอวกาศ ถ้านำประจุ Qt มาวางที่ตำแหน่งไหนก็ตามจะพบว่ามันพร้อมที่จะมีแรงมากระทำต่อตัวมันเสมอ โดยอัตราส่วนของแรงที่กระทำต่อตัวมันกับขนาดของประจุ Qt เอง เราจะเรียกว่า สนามไฟฟ้า ดังนั้นในบริเวณที่มีประจุ Q1 วางอยู่จุดทุกจุดยกเว้นที่ Q1 ล้วนมีสนามไฟฟ้าทั้งสิ้น ดังนั้นสนามไฟฟ้าเป็นเสมือนกับอิทธิพลของระบบประจุที่มีผลต่อบริเวณรอบข้าง
ดังนั้นจุที่เราทราบค่าสนามไฟฟ้า เมื่อมีประจุใดๆมาวางอยู่ ณ จุดนั้น เราจะทราบแรงที่มากระทำทันที สำหรับการหาสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของจุดประจุมากกว่าหนึ่งตัว ก็คือการคิดแบบ Super Position กับทุกจุดประจุ
จุดประจุ 3 nC วางอยู่ 4 จุดคือ P1(1,1,0), P2(-1,1,0), P3(-1,-1,0) และ P4(-1,1,0) จงหาสนามไฟฟ้าที่จุด P(1,1,1) Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P1 Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P2 Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P3 Vector บอกตำแหน่งจากจุด Origin สู่จุด P4
2.3 Field due to a continuous volume charge distribution นิยามของความหนาแน่นประจุเชิงปริมาตร (volume charge density)
2.4 Field of line charge ความหนาแน่นประจุเชิงเส้น อาจพิจารณาจาก ลำของ electron ในหลอดรังสีคาโทด ซึ่งสมมุติว่าลอยอยู่ในสภาวะนิ่ง สมมุติว่าลำ electron พิจารณา dQ จากรูปทำให้เกิดสนามไฟฟ้า
จากรูป จะเห็นว่าส่วนประกอบสนามแนว z จะต้องรวมกันเป็นศูนย์
ในกรณีที่ ความหนาแน่นประจุเชิงเส้น ไม่ได้อยู่ในแนวแกน z (อาจจะในตำแหน่งอื่น หรือในแนวแกนอื่น) จะต้องพิจารณา ใหม่