สับเซตและเพาเวอร์เซต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
แผนภาพเวนน์–ออยเลอร์ (Vernn–Euler Diagram)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
การจัดหมู่(Combination)
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
นายสมศักดิ์ กาทอง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
Mathematics for computing I
จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
วิธีทำ ตัวอย่างที่ 2.15 ก. สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
We will chake the answer
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สับเซตและเพาเวอร์เซต กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ ดังนั้น A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย เช่น A = { 0 , 2 , 4 } B = { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 } จะได้ เพราะทุกสมาชิกของ A เป็นสมาชิกของ B

ถ้า C = { 2 , 4 , 8 } และ D = { 8 , 6 , 4 , 2 } จะได้ เพราะทุกสมาชิกของ C เป็นสมาชิกของ D

เซต A ไม่เป็นสับเซตของ B ถ้ามีสมาชิกอย่างน้อย หนึ่งตัวของ A ที่ไม่เป็นสมาชิกของ B เขียนแทนด้วย c o a b e a i u จะได้ว่า เพราะว่าสมาชิกบางตัวของ A ได้แก่ b และ c ไม่เป็นสมาชิกของ B

สับเซตแท้ (Proper Subset) A เป็นสับเซตแท้ของ B ก็ต่อเมื่อ แต่ เช่น A = { 2, 4 , 8} B= A เป็นสับเซตแท้ของ B

เพาเวอร์เซต (Power Set) กำหนดให้ A เป็นเซตใดๆ เพาวเวอร์เซตของ A คือเซตของสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A) ถ้า A เป็นเซตจำกัดที่มีสมาชิก n ตัว จำนวนสับเซตทั้งหมดของ A จะ มี สับเซต

ซึ่งประกอบด้วย 1. เซตว่าง 2. เซตที่มีสมาชิก 1 ตัว 2. เซตที่มีสมาชิก 1 ตัว 3. เซตที่มีสมาชิก 2 ตัว 4. เซตที่มีสมาชิก n ตัว

จำนวนสมาชิกของ A มี 2 ตัว ตัวอย่าง กำหนดให้ จงหา P(A) วิธีทำ จำนวนสมาชิกของ A มี 2 ตัว ดังนั้นจำนวนสับเซตทั้งหมดของ A เท่ากับ = 4 ตัว คือ P(A) ดังนั้น =

เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดในขอบข่ายที่กำลังพิจารณาอยู่ในขณะนั้น เขียนแทนด้วย U เช่น U แทนเซตของอักษรในภาษาอังกฤษ A แทนเซตของสระในภาษาอังกฤษ B แทนเซตของคำว่า “Math” จะได้ว่า

ตัวอย่าง กำหนด A = { 1 , 2 , 3 , … , 50 } จงหาเอกภพสัมพัทธ์มา 3 เซต วิธีทำ เอกภพสัมพัทธ์ (U) ได้แก่ 1. { 1 , 2 , 3 , … } 2. { x | x เป็นจำนวนเต็มบวก } 3. { x | x เป็นจำนวนเต็ม }