ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
สมดุลเคมี.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
sp2 Hybridization ของ CH2=CH2 (Ethylene)
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
Electrophilic Substitution of Benzene
ชนิดของ Carbon ในสารประกอบอินทรีย์
Organic Intermediate ในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์จะต้องเกี่ยวข้องกับ การแตกพันธะ (bond breaking) และการสร้างพันธะ (bond forming) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนกลไกการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ.
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
สมบัติทางเคมีของเอมีน
ตัวอย่างการคิดอย่างมีเหตุผลในชีวิตประจำวัน
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
การแนะนำตนเองและผู้อื่น
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เกมหาคู่ประเภทเดียวกัน
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม
“คำพูดคุณครู”.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
Molecular Ultraviolet/Visible Absorption Spectroscopy
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน ลองนึกเปรียบเทียบว่าถ้าบ้านที่มีเจ้าของอาศัยอยู่ ถ้ามีคนจะเข้ามาอาศัยต้องถามเจ้าของบ้านก่อนใช่ใหมค่ะ? ดังนั้นจึงต้องทำความรู้จักกับเจ้าของบ้านก่อนว่า เจ้าของบ้านจะให้เข้าอยู่ห้องใด (นั่นคือต้องศึกษาสมบัติของหมู่ที่แทนที่ในเบนซีนหมู่แรกก่อน ว่าจะมีผลให้หมู่แทนที่ที่มาใหม่จะเข้าตำแหน่งใด o, m หรือ p)

X -N(CH3)3 + -NO2 -CN -COCH3 -COOH -COOCH3 m-Directing gr. -COH -I -Br เรียกว่า deactivating gr. ทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง เมื่อเทียบกับเบนซีน + -N(CH3)3 -NO2 -CN -COCH3 -COOH -COOCH3 -COH -I -Br -Cl -F m-Directing gr. (หมู่แทนที่เข้าที่ตำแหน่ง m) ข้อสังเกตไม่มีอิเล็กตรอนคู่ (และ CO หมายถึง C=O) ถ้า X เป็นหมู่ดึงอิเล็กตรอน (electron donating gr.) ข้อยกเว้น o, p -Directing gr. (หมู่แทนที่เข้าที่ตำแหน่ง o, p) X

m -Directing gr. CN Benzonitrile ตัวอย่าง Nitration of bezonitrile CN HNO3 H2SO4, 25oC CN Benzonitrile CN NO2 เข้าที่ m เป็น major product m-Nitrobenzonitrile (81%) o-Nitrobenzonitrile (17%) p-Nitrobenzonitrile (2%)

จะอยู่ที่ตำแหน่ง O และ P ทำให้ E+ แทนที่ที่สองตำแหน่งนี้ เหตุผลที่ E+ เข้าที่ตำแหน่ง m หมู่ -CN จะดึงอิเล็กตรอนจากในวงเบนซีนโดยดึงผ่านพันธะสาม ทำให้เกิดประจุ + ขึ้นในวง และอิเล็กตรอนจากพันธะคู่จะ delocalize ไปที่ + - C N - + C N - + C N Benzonitrile C N + ข้อสังเกตประจุ + จะอยู่ที่ตำแหน่ง O และ P ทำให้ E+ แทนที่ที่สองตำแหน่งนี้ ไม่ได้ (E+ = NO2) + NO2 + ได้ product เข้าที่ตำแหน่ง m

C N O=N=O + + + NO2 C N C N C N C N HSO4 กลไกการเกิดปฏิกิริยา เข้าที่ตำแหน่ง meta 1. Addition C N NO2 H + C N NO2 H + C N NO2 H + HSO4 2. Elimination C N NO2

+ o, p -Directing gr. Cl NO2 o-Nitrochlorobenzene 35% p-Nitrochlorobenzene 64% Cl HNO3 H2SO4, 25oC Chlorobenzene อย่าลืม F, Cl, Br และ I จะเกิดปฏิกิริยาช้ากว่าเบนซีน แต่จะได้ Product เข้าที่ตำแหน่ง o และ p

- - - + + + + กลไกการเกิดปฏิกิริยา Resonance effect Inductive effect มีผลให้เข้าที่ o- , p- Resonance effect Inductive effect Deactivating ทำให้ปฏิกิริยาช้ากว่าเบนซีน Cl Chlorobenzene Cl Cl - + Cl - + + - กลับไปทบทวนกลไกการเกิดปฏิกิริยา เข้าที่ตำแหน่ง ortho และ para NO2 + o-Nitrochlorobenzene + p-Nitrochlorobenzene

หวังว่าคงจะเข้าใจขึ้นนะค่ะ ต้องกลับไปทบทวนว่า หมู่ใดเป็นหมู่ดึงอิเล็กตรอน หมู่ใดมีข้อยกเว้นอย่างไร และลองหัดเขียนกลไกดูเองจะได้เข้าใจยิ่งขึ้นนะค่ะ