Pi and proof of the circle ค่าพายและบทพิสูจน์วงกลม ~จัดทำโดย~

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การภาวะโลกร้อน
Advertisements

• หน้าหลัก หน้าหลัก • สมาชิก สมาชิก • ประวัติความเป็นมา ประวัติความเป็นมา • เรื่องความเชื่อ เรื่องความเชื่อ • ข้อมูลเฉพาะ ข้อมูลเฉพาะ • แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูล.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
นโยบายการศึกษา.
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ประวัตินักคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ : สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
It’s all About me ตรีภพ เนินอุไร สัตวแพทยศาสตร์
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ความเชื่อในพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นที่มีต่อสุขภาพกาย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
เรื่อง... ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
Tangram.
จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
ประวัติ นักคณิตศาสตร์
เมื่อนักคณิตศาสตร์เขียน 4! เครื่องหมายตกใจ
A.1 Real Numbers and Their Properties
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
วันปีใหม่.
เศษส่วน.
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
พระวาจา ทรง ชีวิต กันยายน 2009.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ของที่ระลึกของประเทศไทย
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
รวมสูตรพื้นที่ผิว และปริมาตร
ตุ๊กตา โดย ณัฐชยา.
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
พื้นที่ผิว และปริมาตร
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
“คำพูดคุณครู”.
โรงเรียน สัตว์. กาลครั้งหนึ่ง พวกเหล่าสัตว์ ทั้งหลายได้ตัดสินใจร่วมกันว่า " เพื่อที่จะให้พวกเราเหล่าสัตว์ทั้งหลาย สามารถติดตามทันกับโลกใหม่ที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ชิ้นที่ 2 นางสาวจรรยา พุฒเจริญ คอมฯถูกใช้ในการออกแบบ สถานการณ์หรือปัญหาที่ ซับซ้อนต่างๆ.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
Open Your life & Your Jobs 2015
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pi and proof of the circle ค่าพายและบทพิสูจน์วงกลม ~จัดทำโดย~ นายณัฐชัย รองชวน ม.4/1 เลขที่2 Princess Chulabhorn’s College Phitsanulok

ก่อนที่เราจะพิสูจน์วงกลม เราต้องรู้ เรื่องนี้ก่อนน้า~

รำลึกความหลัง...ค่าพาย (pi) พาย คืออะไร ใช่ขนมไหมน้า~ รำลึกความหลัง...ค่าพาย (pi) ไพ หรือ พาย (pi - 𝜋) เป็นอัตราส่วนที่เป็นค่าคงที่ของเส้นรอบวง(circumference)หารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง(diameter)ของวงกลมหนึ่ง ได้ทศนิยมไม่สิ้นสุดจัดเป็นจำนวนอตรรกยะ(Irrational number) คิดประมาณ 3.14 ไม่ว่าจะเปลี่ยนเส้นรอบวงหรือเส้นผ่านศูนย์กลางไปแค่ไหน

ประวัติของการใช้ค่าพาย~ เป็นสัญลักษณ์ที่ William James ใช้ในครั้งแรกในปีพ.ศ.2249 เพื่อบอกอัตราส่วนความยาวของเส้นรอบวงกับเส้นผ่านศูนย์กลางวงกลมนั้น ต่อมา Leonard Euler นักคณิตศาสตร์ชาวสวิสใช้สัญลักษณ์นี้อีกครั้งในกรากำหนดอัตราส่วนดังกล่าว ในปีพ.ศ.2280 จึงเป็นเหตุให้นักคณิตศาสตร์ทั่วโลกได้ใช้ค่าพายตามเป็นต้นมา แต่ !!! แต่ในความจริงแล้ว ค่าพายหรืออัตราส่วนพายนั้น มีการคิดค้นกันมาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ ยุคสมัยบาบิโลน ตั้งแต่ประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาลซะอีก เพียงแต่พวกเขาหาสัญลักษณ์มาแทนไม่ได้ วันพายเดย์ คือ วันที่ 14 มีนาคม ของทุกปี

มาม่ะ จะเข้าเรื่องจริงๆ แล้วน้า >0< เฮ้อ~ เหนื่อยไหม มาม่ะ จะเข้าเรื่องจริงๆ แล้วน้า >0<

Proof of the Circumference of a circle เพื่อนๆ ยังจำค่าคงตัวพายได้ไหม~ เราจะเริ่มนำส่วนนั้นมาใช้แล้วน้า~ ^^ ถ้าเรากำหนดให้ c แทน เส้นรอบวงกลม (circumference) d แทน เส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม (diameter) 𝜋 แทน ค่าคงตัว มีค่าประมาณ 3.14 หรือ 22/7 r แทน รัศมีของวงกลม จากสิ่งที่เรารู้มาแล้ว เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ 𝜋 = 𝑐 𝑑

Proof of the Circumference of a circle จากสมการ 𝜋 = 𝑐 𝑑 c = 𝜋𝑑 c = 𝜋2𝑟 c = 2𝜋𝑟 d = 2r

Proof of the area of circle วิธีในการพิสูจน์พื้นที่ของวงกลมนั้น มีหลากหลายมากมาย ตั้งแต่แบบต้นตำหรับที่อาร์คิมิดิสเป็นผู้คิดค้น หรือจะเป็นวิธีที่นักคณิตศาสตร์รุ่นต่อๆ มาคิดค้นขึ้นมาเอง ในที่นี้จะนำเสนอเฉพาะวิธีที่พิสูจน์ได้จริงและมีความง่าย เหมาะกับนักเรียนที่ยังไม่มีความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์มากนัก ต่างจากของอาร์คิมิดิสที่มีความยากและซับซ้อน

Proof of the area of circle วิธีแรกที่จะนำเสนอ คือ การพิสูจน์โดยใช้คิดจากรูปสามเหลี่ยมมาเกี่ยวข้องกัน

Proof of the area of circle วิธีที่ 2 ที่จำนำเสนอ จะเป็นการทำให้ออยู่ในรูปสี่เหลี่ยม

จบแล้วจ้า ขอบคุณที่รับชมน้า *0*