บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มีอะไรใหม่ ค่าลดหย่อนในการอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา ของตนเองและคู่สมรส ลดภาระให้ผู้ประกอบการรายย่อยในการขยายระดับรายได้ที่ต้องจด.
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
ค่าของทุน The Cost of Capital
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
Statement of Cash Flows
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
“การบริหารรายได้รายจ่ายของรัฐบาล”
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
การบริโภค การออม และการลงทุน
รายได้ประชาชาติ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่ 4 งบการเงิน.
นโยบายการคลัง.
ความรู้เบื้องต้นเรื่องภาษี ( TAX)
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การเงินส่วนบุคคลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
บทที่1 การบริหารการผลิต
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income

กระบวนการทางเศรษฐกิจ

กระบวนการทางเศรษฐกิจ

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายกระแสวงจรการไหลเวียนของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจได้ บอกความหมายของรายได้ประชาชาติได้ อธิบายวิธีการคำนวณรายได้ประชาชาติ ด้านรายได้ รายจ่าย และผลิตผล บอกความหมายและความสัมพันธ์ของ GDP, GNP, NNP NI ,PI ,DI (DPI) อธิบายรายได้ต่อบุคคลในรูปแบบต่างๆได้ เปรียบเทียบรายได้ที่เป็นตัวเงินกับรายได้ประชาชาติ ที่แท้จริงได้ บอกประโยชน์ของรายได้ประชาชาติได้

รายได้ประชาชาติ หมายถึง มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทุกชนิดของประเทศที่ได้รับในรอบระยะเวลา 1 ปี ส.ศ.ช, สังกัดสำนัก นายกรัฐมนตรี หน่วยงานที่รับผิดชอบของรายได้ประชาชาติ

การคำนวณหารายได้ประชาชาติมี 3 วิธี คำนวณด้านรายได้ Income Approach คำนวณด้านรายจ่าย Expenditure Approach คำนวณด้านผลผลิต Product Approach

1. คำนวณด้านรายได้ Income Approach ดอกเบี้ย กำไร ค่าเช่า ค่าจ้าง / เงินเดือน ยกเว้น เงินโอน เงินที่ได้รับจากการชำระหนี้ เงินที่ผิดกฎหมาย

2. คำนวณด้านรายจ่าย Expenditure Approach อุปโภคและบริโภค(C ) รายจ่ายสะสมทุน (I) รายจ่ายการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล(G) การลงทุนสุทธิใต่างประเทศ(F)

สินค้าและบริการ ที่มีราคา สินค้าหรือบริการ ขั้นสุดท้าย 3. คำนวณด้านผลผลิต Product Approach สินค้าและบริการ ที่มีราคา สินค้าหรือบริการ ขั้นสุดท้าย

ความหมายและความสัมพันธ์ของ GDP,GNP, NNP, NI ,PI ,DI (DPI) แบ่งเป็น 6 ประเภท GDP ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้นเป็นการสร้างงานภายในประเทศไม่ว่ากลุ่มคนเหล่านั้นจะไม่ใช่คนไทยก็ตาม GNP ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นเป็นทรัพยากรของไทยที่ไปสร้างงานต่างประเทศ GNP = GDP +F

NNP = GNP – ค่าใช้จ่ายใน ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ NNP = GNP – ค่าใช้จ่ายใน การใช้ทุน

NI รายได้ประชาชาติ NI = NNP – ภาษีทางอ้อม หักเงินอุดหนุน

PI รายได้ส่วนบุคคล PI = NI – (ภาษีเงินได้นิติบุคคล + กำไรที่ยังไม่จัดสรร) + (เงินโอน + ดอกเบี้ยสุทธิ)

รายได้ที่ใช้จ่ายจริง DI รายได้ที่ใช้จ่ายจริง DI = PI – ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา

10 อันดับประเทศที่มี GDP สูงสุดข้อมูลปี 2553 ของ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อันดับที่ 3 ได้แก่ประเทศ Japan มี GDP สูงถึง : $5,683,292 ล้าน

10 อันดับประเทศที่มี GDP สูงสุดข้อมูลปี 2553 ของ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

10 อันดับประเทศที่มี GDP สูงสุดข้อมูลปี 2553 ของ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ อันดับที่ 7 ได้แก่ประเทศ บราซิล มี GDP สูงถึง : $2,192,958 ล้าน อันดับที่ 8 ได้แก่ประเทศ อิตาลี มี GDP สูงถึง : $2,054,902 ล้าน อันดับที่ 9 ได้แก่ประเทศ รัฐเซีย มี GDP สูงถึง : $1,678,107 ล้าน  

อันดับที่30ได้แก่ประเทศ ไทย มี GDP สูงถึง : 334,026 ล้าน   อันดับที่30ได้แก่ประเทศ ไทย มี GDP สูงถึง : 334,026 ล้าน

PI GDP NI GNP NNP DI / DPI ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น ต่างประเทศ NNP NI – (ภาษีเงินได้นิติบุคคล + กำไรที่ยังไม่จัดสรร + (เงินโอน + ดอกเบี้ยสุทธิ) DI / DPI

ข้อแตกต่างกันของรายได้ประชาชาติที่เป็นตัวเงินกับรายได้ประชาชาติที่แท้จริง คือ การนำเอาตัวเลขรายได้ประชาชาติตามราคาตลาดในแต่ละปีมาเปรียบเทียบกัน เพื่อทำการวิเคราะห์ผลผลิต รายได้ประชาชาติที่แท้จริง คือ รายได้ประชาชาติที่ปรับตัวเลข โดยใช้ราคาของปีใดปีหนึ่ง หรือปีที่เศรษฐกิจดีที่สุด

ประโยชน์ของการศึกษารายได้ประชาชาติ วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ กำหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ใช้เป็นนโยบายการเก็บภาษี เทียบเคียงฐานะทางเศรษฐกิจ

อย่าลืมทำใบงานและแบบทดสอบนะคร้าบ