วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
Thesis รุ่น 1.
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัย
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนข้อเสนอการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักการเขียนโครงการ.
การเขียนรายงาน.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555 สวัสดีปีใหม่ 2555 วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555

CT1 : Current topics ปัญหาที่พบ ในกระบวนการ CT1 การเขียนบทที่ 1 การเขียนบทที่ 2

1.รายละเอียดผู้วิจัย – 2.ชื่อหัวข้อ ? ไม่พิมพ์ชื่อผู้วิจัย ? ชื่อเรื่องกินขอบเขตกว้างเกินไป ? พิมพ์ผิด การใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่โดยไม่จำเป็น

3. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ? เขียนสั้นมาก จนไม่เห็นว่ามีที่มาอย่างไร และจะไปลงมือทำอะไร ห้ามใช้ภาษาพูด บอกภูมิหลังของเรื่องนั้น ๆ ต้องสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความสำคัญ และความจำเป็นที่ต้องทำวิจัยเรื่องนี้ เขียนตรงประเด็น เน้นเข้าเรื่อง ไม่ยืดเยื้อ ไม่สั้นเกินไปหรือยาวเกินไป (ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ)

4. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์เป็นการขยายรายละเอียดแนวคิดของประเด็นปัญหาว่าต้องการศึกษาหรือพัฒนาอะไร วัตถุประสงค์ทุกข้อที่เขียนต้องสามารถศึกษาได้ นั่นคือ ต้องถามตัวเองว่าทำได้ วัดได้ เก็บข้อมูลได้ ทั้งหมดหรือไม่ ห้ามนำประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับการวิจัยมาเขียนเป็นวัตถุประสงค์การวิจัย ต้องเขียนเป็นสิ่งที่ผู้วิจัยจะได้ลงมือทำ และสามารถวัดได้หรือเห็นผลของการกระทำได้

5. หลักการ ทฤษฎี และเหตุผล ? เขียนวกวน และซ้ำกับความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา ควรเขียนให้เห็นว่า การพัฒนาสิ่งที่ต้องการนั้นต้องใช้เนื้อหา หลักการ ทฤษฎี อะไรบ้าง มาเป็นความรู้เพื่อสร้างสรรค์ผลงานนั้น ๆ

6. ระยะเวลาดำเนินการ (Gantt Chart) รูปแบบไม่ถูกต้อง ไม่ได้สัดส่วน ควรเขียนหัวข้อเพียงการศึกษาเท่าที่จะทำได้ในเวลาที่วางแผนในตาราง ถ้าเป็นงานวิจัย (ของจริง) Gantt Chart ก็ต้องไปถึงการนำเสนองาน (สอบนำเสนอจบ)

8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เมื่อทำเสร็จแล้ว ผลการวิจัยจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร ประโยชน์ของการวิจัยมีได้หลายลักษณะ เช่น การนำผลการวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบาย ปรับปรุงการปฏิบัติงาน ใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจแก้ปัญหาหรือทำวิจัยต่อไป

8.ขอบเขตของการวิจัย งานวิจัยทุกเรื่อง ควรมีการกำหนดขอบเขตของการวิจัยให้ชัดเจน เพื่อให้งานวิจัยเป็นไปตามปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ บอกกรอบของผลผลิตที่ได้ว่าจะมีการศึกษาหรือพัฒนาในส่วนใดบ้าง

9.การเขียนคำนิยามศัพท์ เป็นการให้คำนิยามเชิงปฏิบัติการที่ใช้ในการวิจัยเรื่องนั้น ๆ เนื่องจากคำศัพท์บางคำมีความหมายได้หลายคำ จะให้เฉพาะความหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เท่านั้น การให้ความหมายคำนิยามเชิงปฏิบัติการต้องไม่ค้านกับแนวคิดทฤษฏี และมีความหมายที่แน่นอนชัดเจน วัดได้อย่างเดียวกันไม่ว่าใครวัด คำนิยามเชิงปฏิบัติการ ให้ไว้เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกับผู้วิจัย

ปัญหาอื่น ๆ ชื่อเรื่องไม่ชัดเจน กว้างเกินไป ระบุหัวข้อตามแบบฟอร์มไม่ครบ เช่น ขาด H/W S/W มีคำผิด/ภาษาพูดมาก

การเขียน บทที่ 1 บทนำ CT1 ส่วนใดที่ไม่สมบูรณ์ บกพร่อง ให้ปรับตามข้อแนะนำที่แจ้งไปแล้ว และสามารถหยิบเนื้อหาที่เขียนไว้ใน CT1 มาใช้ได้ โดยอาจเขียนให้ละเอียดได้มากยิ่งขึ้น เช่น ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา หลักการ ทฤษฎีและเหตุผล เป็นต้น

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 หลักการ ทฤษฎีและเหตุผล 1.4 แผนดำเนินงาน ขอบเขตการศึกษา 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6 คำนิยามศัพท์เฉพาะ

การเขียน บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง รวบรวมเนื้อหา หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เราได้กล่าวไว้ในหลักการ ทฤษฎีและเหตุผล จากบทที่ 1 มาให้รายละเอียดไว้ที่นี่ เสนอแนวคิดพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ทบทวนแนวคิด ทฤษฎี เฉพาะที่เกี่ยวข้อง มีการอ้างอิงตามหลักสากลที่ถูกต้อง มีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นหัวข้อสุดท้าย

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ( 3 เรื่องขึ้นไป )