Component องค์ประกอบของ GUI.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถาปัตยกรรมเทียร์ TIER ARCHITECTURE.
Advertisements

The InetAddress Class.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Lab Part Nattee Niparnan
Swing Component Basic Component.
Introduction to Java Graphic 2D
ครั้งที่ 8 Function.
05_3_Constructor.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Selected Topics in IT (Java)
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
ทบทวนเรื่อง GUI - กลุ่มคำสั่ง AWT Set (Abstract Windowing Toolkit) และ
บทที่ 4 Method (1).
ความหมายของ GUI Graphic User Interface (GUI) คือ ส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ด้วยรูปภาพ ที่มีสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม อยู่ในชุดแพคเกจ java.awt และ javax.swing.
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
OOP (Object-Oriented Programming)
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
การสร้างส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (5) การสร้างเมนู
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
แอพเพล็ตเบื้องต้น (Applet)
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
รู้จักและใช้งาน Applet
บทที่ 6 เมธอด.
JAVA PROGRAMMING PART IV.
JAVA PROGRAMMING PART I.
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
คำสั่งควบคุมการ ทำงาน การเขียนโปรแกรมโดยปกติ มีทั้งให้ทำงาน เป็นลำดับ ที่ละคำสั่ง บางครั้งมีการให้เปลี่ยน ลำดับในการทำคำสั่ง เพื่อให้การเขียน โปรแกรมมีประสิทธิภาพสูงสุด.
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
ส่วนประกอบ ของ Window 05/04/60
Java Desktop Application #4
Java Desktop Application #5
เรื่อง jOptionPane Nattapong Songneam
Advanced Class Design in Java Java Packages Week #6 Jarungjit Parnjai
Graphical User Interface (GUI)
บทที่ 3 Class and Object (2).
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
การจัดวางคอมโพเนนต์กราฟิก
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
Java Network Programming 1
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
รู้จักและใช้งาน Applet
ให้ทำการเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงรูปภาพ ดังนี้
เครื่องมือที่ใช้ JUnit4.8.1 on Eclipse SDK3.5.2 ขึ้นไป
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
Powerpoint Templates Page 1 Powerpoint Templates Selection Structure โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก.
WEEK5-2: 14 SEP 2017 Input / Output Selection Statement
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Component องค์ประกอบของ GUI

GUI (Graphical User Interface) คือการเขียนโปรแกรมที่ใช้รูปภาพกราฟิกในการโต้ตอบกับผู้ใช้ ซึ่งในจาวาเราสามารถเลือกงานได้หลายแบบ เช่น Java Swing Java AWT Java Applet Java Script

AWT (Abstract Windowing Toolkit) คือเครื่องมือพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมด้วย GUI ประกอบด้วย AWT component AWT Container จัดเป็น component อย่างหนึ่งที่สามารถนำเอา component อื่นๆ มาใส่ได้ Layout Manager ใช้สำหรับจัดแสดง component ออกทางจอภาพ

Swing Component เนื่องจากการที่ AWT เองมีปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้นในการใช้งาน เช่น เรื่องของความจำ ทำให้จาวาพัฒนา class ขึ้นมาใหม่ที่มีความสามารถในด้าน GUI แต่ปัญหาน้อยกว่า ซึ่ง Swing ไม่ได้ใช้งานแทน AWT เพราะ AWT ยังมีอยู่ ในขณะเดียวกัน Swing ก็ยังคงต้อง extends บางคลาสจาก AWT มาใช้งาน

ตารางเปรียบเทียบ component ของ AWT และ Swing AWT Comp. Swing Comp. Applet Japplet List Jlist Component Jcomponent Menu Jmenu Container - MenuBar JMenuBar Button Jbutton MenuItem JMenuItem Canvas Panel Jpanel CheckBox JCheckBox ScrollBar JScrollBar Dialog Jdialog TextArea JTextArea Frame Jframe TextComponent JTextComponent Label JLabel TextField JTextField

import javax.swing.*; class ExDialog { public static void main(String []args) { String firstNumber,seNumber; int number1,number2, sum; firstNumber = JOptionPane.showInputDialog("First num. is"); seNumber = JOptionPane.showInputDialog ("And second num."); number1 = Integer.parseInt(firstNumber); number2 = Integer.parseInt(seNumber); sum = number1+number2; JOptionPane.showMessageDialog (null," Sum of two numbers is :" +sum," Result", JOptionPane.PLAIN_MESSAGE); System.exit(0); }

Swing Component JFileChooser JScrollPane JComboBox JSlider JList JSplitPane JPasswordField JTabbedPane JProgressBar JToolTip JRadioButton

ประเภทของ Component Compound Components คือ คลาสที่ใช้ในการสร้าง GUI ที่มี Component อื่นเป็นส่วนประกอบ เช่น เมนู

Menu Menu Bar MenuItem

ประเภทของ Component Container Components คือ คลาสที่ใช้ในการสร้าง GUI ที่สามารถนำเอา Component อื่นมาเป็นส่วนประกอบได้มีสองประเภท คือ Non-top-level Container Top-level Container

การสร้าง GUI Component จะถูกสร้างขึ้นมาแล้ววางใน Container โดยที่การจัดวาง component นั้นจะอาศัย Layout Manager เป็นตัวช่วยในการจัดวาง จะต้องมีคำสั่ง setSise(int, int) จะต้องมีคำสั่ง setShow() หรือ setVisible(true)

(Swing Component : JFrame) Top Level Container (Swing Component : JFrame)

JFrame JFrame เป็น container ที่สืบทอดมาจากFrame ของAWT ซึ่งเป็น Top level container ที่สามารถอยู่เดี่ยวๆได้ ไม่ต้องอาศัย window ลักษณะที่สำคัญของ JFrame คือ การมีปุ่มปิดปุ่มคืนสภาพ และปุ่มย่อขนาดให้เล็กสุด

ความสูง : y ความยาว : x Title Bar Minimize Button Restore Button Close Button ความสูง : y ความยาว : x

การสร้าง สร้างวัตถุ JFrame ขึ้นใหม่ โดยใช้คำสั่ง JFrame ชื่อเฟรม = new JFrame(" Title bar ") การสืบทอดจากJFame โดยใช้คำสั่ง class ชื่อคลาส extends JFrame

import javax.swing.*; class JFrameDemo { public static void main(String s[]) { JFrame frame = new JFrame("JFrame Source Demo"); frame.setSize(200,150); frame.setVisible(true); }

import javax.swing.*; class JFrameDemo extends JFrame { public static void main(String s[ ]) { JFrameDemo f = new JFrameDemo(); f.setTitle("Test"); f.setSize(200,150); f.setVisible(true); }

Method การกำหนดค่า setResizable(false) กำหนดการปรับขนาด true ปรับขนาดได้false ปรับขนาดไม่ได้ setDefaultCloseOperation(0) กำหนดการออกจาก frame 0 ปิดเฟรมไม่ได้ และ 1 ปิดเฟรมได้ setTitle("Title bar") กำหนดชื่อ Title bar setSize(200,150) กำหนดขนาด(กว้าง,ยาว) setName ("Name") กำหนดชื่อเฟรม setVisible(true) กำหนดการแสดง true แสดง false ไม่แสดง

Method การรับค่า การรับค่าขนาดของเฟรม การรับค่าชื่อ title bar getSize() การรับค่าขนาดของเฟรม getTitle() การรับค่าชื่อ title bar getBackground() การรับค่าสีพื้นหลัง getName() การรับค่าชื่อของเฟรม

JPanel

JPanel เป็น container ที่ไม่สามารถอยู่อย่างอิสระต้องอยู่ภายใต้ Top Level Container Top Level Container JPanel OK Top Level Container OK OK

import java.awt.*; class TestPanel{ public static void main(String s[]){ JFrame f = new JFrame ("Test"); JPanel p = new JPanel(); JPanel p1 = new JPanel(); f.setLayout(new GridLayout()); p.setBackground(Color.blue); p1.setBackground(Color.BLACK); f.add(p); f.add(p1); f.setSize(100,100); f.show(true); }