อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
โจทย์ หาราคาค่าเช่าห้องพัก โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าพักไม่เกิน5วัน จะไม่มีส่วนลด ถ้าพัก5-8วัน จะมีส่วนลด 5% แต่ถ้าพักมากกว่า8วันขึ้นไป จะมีส่วนลด 10%
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
สาระที่ 4 พีชคณิต.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Treatment of Experimental result
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
อสมการ (Inequalities)
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การเขียนผังงานแบบทางเลือก
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ โดย นางโสภาพรรณ ชื่นทองคำ โรงเรียนบ้านสันกำแพง
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นักเรียนเคยเรียนเรื่องการเขียนประโยคเกี่ยวกับจำนวนให้เป็นประโยคที่ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาแล้ว เช่น ประโยค สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งเท่ากับหก เขียนได้เป็น 3x = 6และประโยค สองเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่าสี่อยู่เจ็ด เขียนได้เป็น2x - 4 = 7 นอกจากนี้ยังเคยรู้จักสัญลักษณ์ต่อไปนี้ < แทนความสัมพันธ์น้อยกว่า หรือไม่ถึง > แทนความสัมพันธ์มากกว่า หรือเกิน และ ≠ แทนความสัมพันธ์ไม่เท่ากับหรือไม่เท่ากัน

นอกจากสัญลักษณ์ดังกล่าวแล้ว เรายังใช้สัญลักษณ์ ≤ แทนความสัมพันธ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ สัญลักษณ์ ≥ แทนความสัมพันธ์มากกว่าหรือเท่ากับ เช่น X ≤ 2 อ่านว่า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 หมายถึง x < 2 หรือ x = 2 อีกนัยหนึ่งคือ x ไม่เกิน 2 และ a ≥ b อ่านว่า a มากกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a > b หรือ a = b อีกนัยหนึ่งคือ a ไม่น้อยกว่า b

อสมการ เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์ < , > , ≤ , ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ์ คำตอบของอสมการ คือ จำนวนที่แทนตัวแปรในอสมการแล้วทำให้อสมการเป็นจริง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อาจมีคำตอบได้หลายลักษณะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1.2 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการ ที่ผ่านมานักเรียนแก้อสมการโดย การลองแทนค่าตัวแปรในอสมการ แต่อาจไม่สะดวกเมื่ออสมการมีความซับซ้อน เช่น เมื่อต้องการแก้อสมการ 2x+3 < -6 นักเรียนจะพบว่าเป็นการยากที่จะหาคำตอบของอสมการนี้โดยการลองแทนค่าตัวแปร

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นักเรียนเคยแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมาแล้ว ในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวก็สามารถทำได้ในทำนองเดียวกัน โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กำหนดอะไรมาให้และให้หาอะไร ขั้นที่ 2 กำหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ให้มาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ให้หา ขั้นที่ 3 เขียนอสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ ขั้นที่ 4 แก้อสมการเพื่อหาคำตอบที่โจทย์ต้องการ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบคำตอบที่ได้กับเงื่อนไขคำอบในโจทย์