บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
ปฎิบัติการที่ ห้า.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
บทที่ 2 Operator and Expression
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Lecture no. 2: Overview of C Programming
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวดำเนินการในภาษาซี
โปรแกรมยูทิลิตี้.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
Overview of C Programming
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
CHAPTER 2 Operators.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ C-Programming 2004 บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ C Programming อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์© 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 มีอะไรบ้างในบทนี้ C Programming 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C 2.2 ใส่คำอธิบาย(Comment) ลงในโปรแกรม 2.3 การคำนวณในภาษา C 2.4 นิพจน์การคำนวณ 2.5 การคำนวณทศนิยม 2.6 สรุป สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C C Programming \a ส่งเสียง Beep \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t แท็บในแนวนอน \b ย้อนกลับไป 1 ตัวอักษร \v แท็บในแนวตั้ง \f ขึ้นหน้าใหม่ \r รหัส Return \’ แทนตัวอักษร Single Quote(’) \’’ แทนตัวอักษร Double Quote(’’) \\ แทนตัวอักษร Backslash(\) \000 แทนตัวอักษรที่มีค่า ASCII เท่ากับ 000 ในระบบเลขฐานแปด \xhh แทนตัวอักษรที่มีค่า ASCII เท่ากับ hh ในระบบเลขฐานสิบหก สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C C Programming #include<stdio.h> Void main() { printf(“== Welcome == \n\n”); printf(“Alert\a\n”); print(“1 2 \b3 4\n”); printf(“backslash \\ \n”); printf(“show \” \n”); printf(“show \ ‘hello\’ \n”); printf(“ascii \123 \n”); printf(“ascii \x2e \n”); } สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

2.2 ใส่คำอธิบาย(comment)ลงในโปรแกรม C-Programming 2004 2.2 ใส่คำอธิบาย(comment)ลงในโปรแกรม C Programming // ใช้ในการใส่คำอธิบายแบบบรรทัดเดียว โดยจะมีผลให้ข้อความใดๆ หลังจากเครื่องหมาย // ไปจนสุดบรรทัดนั้นๆ เป็นคำอธิบายทั้งหมด /*..*/ ใช้ในการใส่คำอธิบายแบบหลายบรรทัด โดยจะมีผลให้ข้อความใดๆ ที่อยู่ระหว่าง /* และ */ กลายเป็นคำอธิบาย(อาจจะเป็น 1 บรรทัดหรือมากกว่าก็ได้) เช่น /* Program by Sasalak Thongkhao sasalak@riska.ac.th */ //include stdio.h for printf command #include<stdio.h> สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.3 การคำนวณในภาษาซี C Programming เครื่องหมายหรือโอเปอเรเตอร์(Operator) มีดังนี้ + เครื่องหมายบวก(Addition) - เครื่องหมายลบ(Subtraction) * เครื่องหมายคูณ(Multiplication) / เครื่องหมายหาร(Division) % เครื่องหมายหารแบบเอาเศษเป็นคำตอบ(Mod) สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

2.3 การคำนวณในภาษาซี 2004 C-Programming ตัวอย่าง math1.c #include<stdio.h> void main() { Printf(“%d\n”,250+43); } %d เป็นการกำหนดรูปแบบของผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มฐานสิบ และแทนที่ลงตรงตำแหน่ง %d 293 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.3 การคำนวณในภาษาซี C Programming ตัวอย่าง math1update.c #include<stdio.h> void main() { printf(“Answer is %d.\n”,250+43); printf(“%d %d\n”,5-3,10-2); printf(“%d \n”,5*5); printf(“%d \n”,7/3); printf(“%d \n”,7%3); } Answer is 293 2 -22 25 2 1 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.4 นิพจน์การคำนวณ C Programming ลำดับการคำนวณนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายที่อยู่หน้าตัวเลข เช่น -2 (...) วงเล็บ *,/ เครื่องหมายคูณและหาร +,- เครื่องหมายบวกและลบ สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.4 นิพจน์การคำนวณ C Programming ตัวอย่าง math2.c #include<stdio.h> void main() { printf(“A = %d\n”,(10-5)*3+(2+10)/4); } A = 18 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.4 การคำนวณทศนิยม C Programming ใช้ %f (f ย่อมาจาก float) #include<stdio.h> void main() { printf(“Area = %f”,0.43*3*4); } Area = 5.160000 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.4 การคำนวณทศนิยม C Programming ตัวอย่าง math4.c #include<stdio.h> void main() { printf(“Average = %f\n”,(65.5+15.4+22.0)/3); } Average = 34.300000 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา C-Programming 2004 2.5 สรุป C Programming ในการคำนวณนั้น ไม่ว่าจะเป็นเลขจำนวนเต็มหรือเลขทศนิยมก็ตาม เราสามารถใส่นิพจน์ให้กับการคำนวณได้ เช่น การใส่วงเล็บเพื่อให้ลำดับการคำนวณเป็นไปตามที่ต้องการ และถ้าคาดว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณจะออกมาเป็นเลขทศนิยมเราจะต้องแสดงค่าโดยใช้ %f เพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้อง สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา tsasalak@riska.ac.th