การติดต่อสื่อสาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
The Power of Communication
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ความหมายของเครือข่าย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
การวางแผนกลยุทธ์.
การจัดองค์การ.
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
การเขียนในปัจจุบันมีปัญหา มักพบว่าคนเขียนไม่ใคร่ได้ อาจเป็นเพราะข้อสอบปรนัยคนเลยไม่มีโอกาสได้เขียนกัน การเขียน.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
องค์การและการบริหาร Organization & Management
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
แบบจำลองการสื่อสาร Communication Model.
การสื่อสารเพื่อการบริการ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การติดต่อสื่อสารในการทำงาน
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
การเขียนเชิงกิจธุระ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ADDIE Model.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การวัดการวิจัยในการตลาด
Change Management.
การผลิตรายการโทรทัศน์
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
การสื่อ ความหมาย. 1. บรรยายเรื่องการสื่อ ความหมายได้ วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนนี้ แล้ว ผู้เข้ารับ การ ฝึกอบรมควรจะสามารถ เมื่อจบบทเรียนนี้ แล้ว ผู้เข้ารับ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดต่อสื่อสาร

การติดต่อสื่อสาร หมายถึง การส่งข่าวสารจากผู้หนึ่งไปยังอีกผู้หนึ่ง หรือจากผู้ส่งไปยังผู้รับ กระบวนการในการส่งหรือการถ่ายทอดจะต้องอาศัยช่องทางในการติดต่อสื่อสาร และสัญลักษณ์ต่างๆเพื่อให้ถึงผู้รับอย่างรวดเร็วและถูกต้อง

การติดต่อสื่อสารต้องพิจารณา 3 ประการ คือ 1.สื่อในการติดต่อ - วิทยุ หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ หรือบันทึก 2.เครือข่ายหรือช่องทางการศึกษา – วิทยุใช้คลื่นไหน โทรทัศน์ใช้ช่องไหน

3.กระบวนการ - คือความสัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ การติดต่อสื่อหมายถึงผู้ส่งต้องการส่งข่าวสารไปยังผู้รับ เมื่อผู้รับได้รับข่าวสารถูกต้องตามความต้องการของผู้ส่ง จึงถือว่าเป็นความสำเร็จ

ลักษณะทั่วไปของการติดต่อสื่อสาร 1.การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตประจำวันและการติดต่อดำเนินการขององค์การ 2.กระบวนการในการติดต่อสื่อสารประกอบด้วย ผู้ส่ง-การถ่ายทอด-ช่องทางหรือวิธีการถ่ายทอด-ผู้รับ

3.สิ่งจูงใจในการติดต่อสื่อสาร เป็นเรื่องสลับซับซ้อนมากเพราะเรื่องดังกล่าวหมายถึง ความไม่แน่นอน การรวบรวมข่าวสาร การย้ำเพื่อให้เกิดความเชื่อถือ

4.ตัวข่าวสารมีทั้งเป็นตัวอักษรและคำพูด หรืออาจทั้งสองอย่างผสมกันก็ได้ 5.การติดต่อสื่อสารอาจทำได้หลายแบบด้วยกัน คือ พูดและเขียน และที่ได้ผลมากที่สุดคือต้องทั้งพูดและเขียนผสมกัน

6.อุปสรรคในการติดต่อสื่อสารมีหลายอย่างด้วยกัน อาจถูกขัดขวางรบกวน(เช่น คลื่นวิทยุ) ข่าวสารไม่ถึงผู้รับ(เช่นไปรษณีย์) ผู้รับแปลความผิดเพี้ยนไปจากเจตนารมณ์ของผู้ส่ง ทำให้สื่อความหมายผิดไป

กระบวนการในการติดต่อสื่อสาร หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งและผู้รับ อะไรเป็นสื่อ ช่องทาง

อุปสรรคและเครื่องกีดขวางการติดต่อสื่อสาร 1.ขีดความสามารถของผู้รับ ในการรับและเข้าใจความหมายได้อย่างถูกต้อง

2.เสียงหรือถูกคลื่นรบกวน 3.เข้าใจสมมติฐานไม่ตรงกัน ส่วนมากได้แก่ความหมายของคำ

รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร 1.การติดต่อสื่อสารทางเดียว(One-Way Communication) การติดต่อสื่อสารมักจะมาจากเบื้องบนลงสู่เบื้องล่าง

2.การติดต่อสื่อสารทั้งคู่ (Two-Way Communication) การติดต่อสื่อสารจากเบื้องล่างสามารถติดต่อกับผู้บังคับบัญชาได้

ช่องทางหรือเครือข่ายการติดต่อสื่อสาร แบบดาว แบบรูปตัววาย แบบลูกโซ่ แบบวงกลม แบบปิด

แบบดาว ข จ ค ก ง

แบบรูปตัววาย ก ข ค ง จ

แบบลูกโซ่ ก ข จ ค ง

แบบวงกลม ก จ ข ค ง

แบบเปิด ก จ ข ค ง

รูปแบบมีขั้นตอน (Hierachy) มีความเป็นระเบียบแต่อาจล่าช้า ข้อดีและข้อเสีย รูปแบบมีขั้นตอน (Hierachy) มีความเป็นระเบียบแต่อาจล่าช้า ระบบเปิดสร้างขวัญ(morale) ในการทำงานได้ดี

3. ระบบเปิดช่วยให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงได้ดีกว่า 4. ระบบเปิดมีอิสรภาพและความรับผิดชอบตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานได้ดีกว่า 5.ระบบปิดสร้างความพอใจให้กับผู้บริหารได้ดีกว่า

โครงสร้างองค์การ และการติดต่อสื่อสาร

การติดต่อสื่อสารแนวดิ่ง การติดต่อสื่อสารแนวนอน

การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ ความสำเร็จในการทำงาน อยู่ที่โต๊ะรับประทานอาหารบ้าง ที่สนามกีฬาบ้าง ซึ่งหมายความว่าการติดต่อสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการนั้นอาจได้รับความสำเร็จดีกว่าในวัฒนธรรมของไทย