13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียง.
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ สภาพปัญหาของการค้ามนุษย์
การค้ามนุษย์.
เขื่อน กับความต้องการของประเทศไทย
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การว่างแผนกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
การค้ามนุษย์.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การป้องกันประเทศ 1 พม่า
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
เผด็จการทหารพม่า เป็นปัญหาของประชาชาติชาติทั่วโลก
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
นโยบายพลังงาน - ปตท. และก๊าซ CBG 3 ประเทศไทยมีวิกฤติด้านพลังงานเพราะต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ ประเทศไทยมีประชากร ส่วนใหญ่มีรายได้จากภาค การเกษตร ดำเนินการผลิตสินค้าขั้นปฐม.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
เขื่อนปากชม.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
เป้าหมายร่วมแห่งชาติ
รายงาน เรื่อง นโยบายน้ำกินน้ำใช้ทั่วไทย (โครงการประปาหมู่บ้าน ) โดย นายพิษณุ หลีสัน เสนอ ผศ.ดร.เพ็ญศรี ฉิรินัง วิชา นโยบายสาธารณะ.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และมีความเสี่ยงมหาศาล เหตุผลหลักที่มีการคัดค้านเขื่อนทั่วโลก ก็คือ การที่ประชาชนจำนวนมากต้อง อพยพ จากถิ่นฐานเดิมโดยไม่ได้รับ การคุ้มครองสิทธิของความเป็นมนุษย์ ขาดกระบวนการการมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ ขณะเดียวกันชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนจำนวนมากที่อยู่ท้ายน้ำต้อง ได้รับผลกระทบจากเขื่อนทั้งปัญหาน้ำเสีย ความอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์ปลา ลดลง เกิดการขาดแคลนน้ำมากขึ้นจนต้องแย่งชิงน้ำกัน ขณะที่การผลิตทาง การเกษตรลดลงแต่ต้นทุนเพิ่มขึ้นเนื่องจากดินขาดความอุดมสมบูรณ์จากการ ที่เขื่อนกักปุ๋ยธรรมชาติไว้จนต้องใช้ปุ๋ยเคมีทดแทน การที่ต้องเสี่ยงกับ อุทกภัยที่เพิ่มมากขึ้น การเสี่ยงกับเขื่อนพังจากแผ่นดินไหวและการสร้าง เขื่อนไม่ได้มาตรฐาน เขื่อนยังทำให้ เกิดโรคระบาดมากขึ้น ทั้งในอ่างเก็บน้ำและพื้นที่ ชลประทาน ขณะที่ผลประโยชน์จากการสร้างเขื่อนมักตกอยู่กับนายทุนที่ดิน รายใหญ่ นักการเมือง บรรษัทข้าม ฯลฯ ที่รวมเรียกว่าบรรดาอุตสาหกรรม เขื่อน ผู้ที่คัดค้านเขื่อนยังเห็นว่านโยบายการจัดการน้ำด้วยการสร้างเขื่อนนั้น ไม่เหมาะสม และยังมีวิธีการอื่นที่เป็นทางเลือกในการจัดการน้ำให้มี ประสิทธิภาพและยั่งยืน

2. มีประชาชนที่ต้องอพยพจากการสร้างเขื่อนที่ผ่านมาจำนวนเท่าใด ? ตอบ นับแต่มีการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ทั่วโลกเมื่อ 63 ปีที่แล้วมาจนถึงปัจจุบัน มีผู้ที่ถูกอพยพจากการสร้างเขื่อนประมาณ ล้านคน ใกล้เคียงกับจำนวนประชากร ในประเทศไทยทั้งประเทศ การอพยพส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในจีนและอินเดีย ในปัจจุบันคาด ว่ามีชาวบ้านทั่วโลกประมาณ 2 ล้านคนต่อปีที่ถูกอพยพจากการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ซึ่ง เราเรียกว่าผู้ถูกอพยพเหล่านี้ว่า "ผู้อพยพจากอ่างเก็บน้ำ"(Reservoir Refugee)สำหรับ ประเทศไทยคาดว่ามีผู้ที่ถูกอพยพจากการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ประมาณ 250, ,000 โดยเขื่อนลำปาวมีชาวบ้านถูกอพยพมากที่สุด(5,500 ครอบครัว) แต่สถิตินี้ กำลังจะถูกทำลายจากการสร้างเขื่อนป่าสัก 3. เกิดอะไรขึ้นเมื่อชาวบ้านคัดค้านเขื่อน? ตอบ เมื่อมีการคัดค้านเขื่อนสิทธิความเป็นมนุษย์ของชาวบ้านจะไม่ได้รับการคุ้มครอง นัก สร้างเขื่อนและทางการที่มีอำนาจเหนือกว่าก็จะเข้าจัดการกับชาวบ้านด้วยวิธีความรุนแรง ชาวบ้านจะถูกคุกคาม และหลายกรณีถูกลอบสังหาร หลายกรณีการชุมนุมเพื่อเรียกร้อง ความเป็นธรรมของชาวบ้านมักจะจบลงด้วยการใช้กำลังของทางการและกำลังของ มวลชนจัดตั้งเข้าสลายการชุมนุม การจับกุมคุมขังและดำเนินคดี การกระทำที่โหดร้าย ที่สุดของนักสร้างเขื่อนก็คือ เหตุการณ์สังหารโหดร้ายที่เกิดขึ้นในกรณีการสร้างเขื่อนชิ ซอย(Chixoy Dam)ประเทศกัวเตมาลา เมื่อ ปี 1982 จากการที่กองกำลังของทางการได้ ทำการสังหารโหดชนพื้นเมืองเผ่ามายันถึง 378 คน ที่ส่วนใหญ่เป็นเด็กและสตรี มีการ ข่มขืนสตรีก่อนฆ่าแล้วเผา นอกจากนั้นเด็กวัยรุ่นอีก 18 คนยังถูกจับไปเป็นทาสอีกด้วย ซึ่งเหตุการณ์สังหารโหดนี้มีชนวนแค่ว่าชนพื้นเมืองเผ่ามายันปฏิเสธที่จะรับค่าชดเชยที่ไม่ เป็นธรรม

ในประเทศไทยการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการสร้างเขื่อนเกิดขึ้นมากที่สุด เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ โดยการสร้างเขื่อนห้วยหลวงเพื่อนำน้ำไป ป้อนฐานทัพอเมริกัน ได้มีชาวบ้านคัดค้านแต่ทางการและนักสร้างเขื่อนได้ใช้" ยุทธการหนองบัวบาน"เข้าจัดการกับชาวบ้าน เป็นเหตุให้ชาวบ้านต้องเสียชีวิต ประมาณ 200 คน ในช่วงเดียวกันนั้นก็ได้เกิดเหตุการณ์ลอบสังหารผู้นำชาวบ้านที่ คัดค้านการสร้างเขื่อนมาบประชัน 2 คน ในระหว่างปี พ.ศ แม้จะ เป็นยุคประชาธิปไตย แต่ชาวบ้านที่ต่อสู้เรื่องเขื่อนยังถูกสังหารเพิ่มอีกหลาย คน ซึ่งเกิดขึ้นในกรณีเขื่อนภูมิพล เขื่อนห้วยขอนแก่น และเขื่อนโป่งขุนเพชร ขณะที่การชุมนุมเรียกร้องค่าชดเชยเขื่อนปากมูลและเขื่อนสิรินธรที่อยู่ใน ช่วงเวลาเดียวกัน ได้จบลงด้วยการใช้กำลังเจ้าหน้าที่รัฐเข้าสลายการชุมนุม ของชาวบ้าน การคุกคามที่ชุมนุม และการจับกุมและดำเนินคดีผู้นำและแม้แต่ สตรี ขณะที่กรณีเขื่อนแก่งเสือเต้น บรรดานักการเมืองท้องถิ่นประกาศอย่าง เปิดเผยผ่านสื่อมวลชนว่าจะจัดการผู้ที่คัดค้านเขื่อนด้วยกำลังและประกาศจะ สังหารนักสิ่งแวดล้อม ที่คัดค้านเขื่อนแห่งนี้