การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
Global Warming.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
G Garbage.
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
การปลูกพืชกลับหัว.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การให้ออกซิเจนที่บ้าน
ไดร์เป่าผม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
หลักการเลือกซื้ออาหาร
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ส้วมแห้งหมักมูล บทนำ. เมื่อคุณเริ่มก้าวเข้าสู่ห้องน้ำคุณจะ พบสิ่งต่างดังนี้ มีถังน้ำสำหรับใส่ ขี้เถ้าเพื่อกลบ มูล มีช่องต่อท่อ แยกสำหรับขับ ปัสสาวะออก.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ชุดตรวจปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ใน อาหารทะเล และ ชุดตรวจปริมาณเหล็กละลายน้ำ.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ เมธี ชุ่มศิริ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

ศูนย์เรียนรู้การจัดการของเสีย ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

ของเสียที่เกิดขึ้นในศูนย์ฯ ส่งบริษัทนำไปกำจัด ขยะติดเชื้อ เข้าบ่อบำบัดน้ำเสีย น้ำเสีย ส่งเทศบาลนำไปกำจัด ขยะทั่วไป

แนวคิดการจัดการของเสียที่ยั่งยืน ขยะมีประโยชน์ ขยะไม่มีประโยชน์

ของเสียที่ยังมีประโยชน์ ขยะแห้งที่นำมา รีไซเคิล ขยะแห้งที่เป็นสารอินทรีย์ ขยะเปียกที่เป็นเศษอาหาร ศูนย์เรียนรู้การจัดการของเสีย

การผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหาร

วัตถุประสงค์ในการทำ นำของเสียที่เป็นเศษอาหารมาทำให้เกิดประโยชน์ เพื่อลดปริมาณขยะที่อาจส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อปลูกจิตสำนึกให้ร่วมกันบริหารจัดการขยะด้วย การมองของเสียให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า

กระบวนการเกิดก๊าซ กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ เป็นกระบวนการทางธรรมชาติ ที่ อาศัยการทำงานของจุลินทรีย์จำพวกที่ไม่ชอบออกซิเจน ซึ่งจุลินทรีย์ แบบไม่ชอบออกซิเจนนั้นมี 2 พวก คือ พวกที่สร้างมีเทน และ (Methanogenic bacteria) พวกที่ไม่สร้างมีเทน (Non- methanogenic bacteria) โดยจุลินทรีย์ประเภทสร้างมีเทนนี้ จะใช้สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนเป็นสารอาหาร และให้ผล ผลิตเป็นก๊าซมีเทน (สูตรโมเลกุล CH4) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (สูตรโมเลกุล CO2) เป็นหลัก โดยมีก๊าซอื่นๆในปริมาณเล็กน้อยเช่น ก๊าซไข่เน่า หรือ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (สูตรโมเลกุล H2S)

อุปกรณ์การทำ

2.ถังเก็บก๊าซ 1. ถังหมัก ช่องเติมเศษอาหาร ท่อปล่อยแก๊ส ท่อปล่อยตะกอน ถังขนาด 200 ลิตร ถังขนาด 150 ลิตร ท่อและสายยาง เข็มขัดรัดท่อ ข้อต่อและวาวล์

ถังหมัก

ขั้นตอนการผลิตก๊าซ ใส่ขี้หมูเปียกหรือแห้งลงในถังประมาณ 15 เซนติเมตร เติมน้ำครึ่งถัง แค่พอท่วม คนให้เข้ากันให้ขี้หมูละลายน้ำ เป็นเลนดำๆ หมักไว้ 7-10 วัน เพื่อให้เชื้อได้รับความชื้น และขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ครบ 1 สัปดาห์ เติมน้ำเพิ่มให้เต็ม จะสังเกตเห้นถัง ลอยเก็บก๊าซลอยสูงขึ้น เกิดจากการไล่ลมออกจากถัง หมัก ให้ระบายลมออกจนถังจมสนิท

ถังเก็บก๊าซ

จากนั้นให้สังเกตดู ถ้าถังเริ่มลอยสูงขึ้นอีกครั้งแสดงว่า ก๊าซเริ่มเกิดแล้ว ให้ใส่เศษอาหารวันละไม่เกิน 1 กิโลกรัม ใส่เศษอาหารไปประมาณ 1-2 สัปดาห์ อัตราการเกิดก๊าซจะเริ่มคงที่ จะมีกลิ่นเหมือนน้ำก้นคลอง ให้เพิ่มปริมาณเศษอาหาร แต่ไม่เกิน 10 กิโลกรัมต่อวัน สังเกตปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้นและกลิ่น หากมีกลิ่น เหม็นเปรี้ยวแสดงว่าเติมอาหารมากเกินไป แบคทีเรีย จะไม่ทำงาน ให้หยุดเติมเศษอาหาร

หากทิ้งไว้ยิ่งมีกลิ่นเปรี้ยวรุนแรงขึ้นแสดงว่าเศษ อาหารเกินไปมาก ทำให้เกิดการเป็นกรดสูงกว่า ต้องทำการปรับระบบ วิธีการช่วยปรับระบบ ควรเติมปูนขาวประมาณ 1 กระป๋องนมข้นหวานวันละ 1 ครั้ง คนให้ทั่วๆถัง เป็นการปรับสภาพความเป็นกรด ด่าง ให้เป็น กลาง จนกว่าจะเริ่มเกิดก๊าซใหม่ แต่อย่าเติม มากเกินไปเพราะจะทำให้ไม่เกิดก๊าซได้เช่นกัน

อาหารที่เหมาะต่อการทำให้เกิดก๊าซในระยะแรก คือ อาหารพวกที่ผ่านการหมักย่อยมาบ้างแล้ว เช่น นมถั่วเหลือง นมเปรี้ยว แกงบูด แกง หน่อไม้ กากถั่วเหลือง ข้าวสุกบูด มะละกอ กล้วย หลังจากการหมักและเกิดแก๊ส แล้ว 2 เดือน ใส่ เศษอาหารอื่นๆ ก็จะเกิดแก๊สได้ง่าย เพราะมี แบคทีเรียที่ทำงานได้เต็มที่แล้ว

การบำรุงรักษา หลังจากใช้ก๊าซหมดแล้วให้เติมเศษอาหารวันละ 3 กิโลกรัมทุกวันแล้วคนให้เท่ากัน เมื่อใช้ไปประมาณ 3-4 เดือน ให้สังเกตดูว่ามีตะกอน มากเกินไปหรือไม่ หากมีตะกอนมากเกินไปให้นำ ตะกอนเก่าด้านล่างออกบางส่วนเพื่อให้มีที่ว่างสำหรับ ใส่เศษอาหารใหม่ได้ ตะกอนที่ได้สามารถนำไปใช้เป็น ปุ๋ย หรือนำตะกอนเก่าไปเป็นหัวเชื้อขยายในถังใหม่ได้ หากไม่เกิดก๊าซ ให้นำกากตะกอนไปใส่โคนต้นไม้ได้ ใช้เป็นปุ๋ยได้ดี ประมาณ 1 ปี ให้ล้างถังและทาสีป้องกัน สนิม อุปกรณ์เสริมต่างๆ เช่น ข้อต่อ อาจเปลี่ยนเป็น แบบพลาสติกเพื่อป้องกันสนิม

ข้อสังเกต ปัญหาที่พบ หากถังเก็บก๊าซไม่สูงเพิ่มขึ้น ถังมีการรั่ว ให้ตรวจสอบทุกจุดและยาปิดให้สนิท ขี้หมูที่ใช้ ไม่มีเชื้อ อาจเนื่องจากเป็นขี้หมูเก่า หรือ เชื้อตาย เพราะถูกสารเคมีจากการล้างพื้นในฟาร์ม หรือ ถูกแดดนาน (ควรมีการทดสอบเชื้อในขี้หมูที่ นำมาใช้ก่อน) ใส่น้ำมากเกินไป มีน้ำค้างอยู่ในสายยางส่งก๊าซขวางการไหลของแก๊ส

การนำใช้ประโยชน์

สวัสดี