บทที่ 4 PHP with Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถาปัตยกรรมเทียร์ TIER ARCHITECTURE.
Advertisements

BC421 File and Database Lab
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
ธีระพงษ์ แสงรักษาวงศ์
ไปรษณีย์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Location object Form object
ภาษา SQL (Structured Query Language)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
การเขียน PHP ติดต่อ MySQL
Lecture 8 Database Output (Form and Report Design)
HTTP Client-Server.
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
การเขียนโปรแกรมออนไลน์
MySQL.
การเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล
การเชื่อมต่อฐานข้อมูลด้วย PHP
– Web Programming and Web Database
– Web Programming and Web Database
SCOPIA Mobile User Training Mr. Theethat Sakthongchai Product Manager.
Introduction to php Professional Home Page :PHP
Php with Database Professional Home Page :PHP
การพัฒนาฐานข้อมูลบนเว็บ (Web Database Development)
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
การใช้งาน phpMyAdmin เพื่อจัดการฐานข้อมูล MySQL
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ซอฟแวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (MySQL)
การจัดการข้อมูลกับฐานข้อมูล [ การแก้ไขข้อมูล ] Teerapong Sangraksawong.
Chapter V : แสดงรายการจากฐานข้อมูล
IP Address / Internet Address
HTML, PHP.
การสร้างฐานข้อมูลและเขียนโปรแกรมจัดการด้วย VB.NET2005
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
Chapter 10 Session & Cookie.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
เขียนโปรแกรมกับฐานข้อมูล (Database Programming)
CHAPTER 12 SQL.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
PHP with MySQL.
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
การใช้งานโปรแกรม SSH Computer center Pluakdaeng pittayakom.
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูล
PHP: [9] ฐานข้อมูล MYSQL
OS Network. Network Operating System, NOS Netware from Novell Microsoft Windows NT Server Microsoft Windows NT 2003 Server AppleShare Unix Linux.
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
CHAPTER 14 Database Management
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการ ข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การ เรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ.
SQL (Structured Query Language)
การสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม (การขอ Username/ Password)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 PHP with Database Teerapong sangraksawong

PHP with Database Application DB DBMS

PHP มีความสามารถในการติดต่อกับฐานข้อมูลต่างๆ ๆ มากมาย เช่น dBase,Informix,Oracle และ Mysql เป็นต้น รวมทั้งการติดต่อผ่าน ODBC โดย MySQL นับเป็นระบบจัดการฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถทำงานข้าม Platform ได้ ในการใช้ PHP ติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูลนั้น จำเป็นต้องใช้คำสั่ง SQL ร่วมด้วย

การสร้างส่วนเชื่อมโยงฐานข้อมูล MySQL เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลที่ประกอบด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล และฐานข้อมูล ซึ่งเป็นโปรแกรมฟรีแวร์ขนาดเล็ก แต่มีความสามารถสูง สำหรับการติดต่อกับ MySQL ด้วย PHP นั้นมีฟังก์ชันในการติดต่อ ดังนี้ mysql_connect(hostname,username,password) โดย hostname คือ ชื่อของ host ที่ mysql กำลังทำงาน เช่น ชื่อเครื่องหรือหมายเลข IP Username คือ ชื่อผู้ใช้ที่กำหนดไว้ในการติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL Password คือ รหัสผ่านที่ใช้ร่วมกับ username

การเรียกใช้ฐานข้อมูล MySQL คำสั่งใน MySQL ที่เรียกใช้ฐานข้อมูลมาใช้งานใน php คือ mysql_select_db(“ชื่อฐานข้อมูล”); เช่น mysql_select_db(“computer”);

การจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล การเพิ่ม ลบ แก้ไข เรียกดูข้อมูลในฐานข้อมูล จะใช้คำสั่ง mysql_query() มีรูปแบบดังนี้ mysql_query(query); เช่น <? $query = “select * from part”; $result = mysql_query($query);

สรุป ก่อนที่เราจะทำการเรียกข้อมูลจากฐานข้อมูลได้นั้น ต้องใช้คำสั่งตามขั้นตอนดังนี้ สร้างส่วนเชื่อมโยงฐานข้อมูล (mysql_connect) เรียกใช้ฐานข้อมูล (mysql_select_db) จัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล(mysql_query)

ผลลัพธ์จากการเรียกข้อมูลจากฐานข้อมูล subid subname subunit s01 computer 3 s02 logic s03 Internet 2 s04 programming ผลจากการเรียกข้อมูลจากฐานข้อมูล จะอยู่ในรูปแบบ array หรือ ชุดข้อมูลดังตัวอย่าง โดยจะมีข้อมูลอยู่จำนวนกี่คอลัมน์ หรือ กี่แถวนั้น ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการเรียกข้อมูลจากคำสั่ง mysql_query เช่น $result = mysql_query(select * from subject)

การนับจำนวนแถว subid subname subunit s01 computer 3 s02 logic s03 Internet 2 s04 programming หลังจากที่เราได้ผลจากการเรียกข้อมูลมาจากฐานข้อมูลนั้น หากเราอยากรู้ว่าข้อมูลที่เราเรียกมานั้น มีจำนวนกี่แถว เราสามารถใช้คำสั่ง mysql_num_rows ได้ เช่น $numrows = mysql_num_rows($result); echo $rows; // แสดงผลลัพธ์ จากการนับจำนวนแถว

การแสดงผลข้อมูล subid subname subunit s01 computer 3 s02 logic s03 Internet 2 s04 programming การนำข้อมูลมาแสดงผล สามารถใช้คำสั่ง mysql_fetch_array เพื่อดึงข้อมูลในแถวที่ชี้อยู่ (เริ่มจากแถวแรก) มาเก็บไว้ที่ array (เราสามารถสร้างตัวแปรมาเก็บได้) แล้วจึงค่อยนำไปแสดงผล เช่น $row = mysql_fetch_array($result);

การแสดงผลข้อมูล s01 computer 3 1 2 ผลจากคำสั่ง mysql_fetch_array ส่งผลให้ตัวแปร $row เก็บข้อมูล array ดังตัวอย่างข้างบน เมื่อเราต้องการแสดงผลข้อมูล เราก็สามารถแสดงผลได้โดยผ่านตัวแปร $row แต่ต้องระบุ ลำดับของข้อมูลด้วย เนื่องจาก ตัวแปร $row เก็บข้อมูลชนิด array อยู่ เช่น echo $row[0]; -> s01 echo $row[2]; -> 2

การแสดงผลข้อมูล หรือเราจะระบุชื่อฟิลด์แทนก็ได้ เช่น s01 computer 3 1 2 หรือเราจะระบุชื่อฟิลด์แทนก็ได้ เช่น echo $row[“subid”]; -> s01 echo $row[“subname”]; -> 2

การแสดงผลข้อมูล subid subname subunit s01 computer 3 s02 logic s03 Internet 2 s04 programming เมื่อเสร็จสิ้นคำสั่ง mysql_fetch_array หนึ่งครั้ง ตัวชี้ข้อมูลก็จะชี้ข้อมูลแถวถัดไป หากเราใช้คำสั่ง mysql_fetch_array อีกครั้งหนึ่ง ข้อมูลที่ได้ ก็จะเป็นข้อมูลในแถวถัดไป

การวนรอบแสดงผล เราสามารถใช้คำสั่ง while เพื่อช่วยในการแสดงผลข้อมูลได้ เช่น while($row = mysql_fetch_array($result)) { echo $row[0].“<br>”; }