การส่งเสริมเครือข่าย กองทุนสุขภาพ แรงงานข้ามชาติ มูลนิธิพัฒนรักษ์
10 ปีผ่านไป เรายังคุยเรื่อง พสต อสต เรายังคุยเรื่อง ดรอปอิน เรายังคุยเรื่องการเข้าถึง ARV เรายังคุยเรื่องการส่งต่อเพื่อการกินยาระหว่างประเทศ (จังหวัด) เรายังคุยเรื่องการเลือกปฏิบัติ เรายังคุยเรื่องผู้บังคับใช้กฎหมาย เรายังคุยเรื่องการเข้าถึงแรงงาน เราคุยๆๆๆๆๆๆ แล้วเขาคุยมั้ย
เราเป็นใคร ทำงานระหว่างรัฐ VS แรงงาน ภาคระดับท้องที่คาดหวังจาก เรา เราไม่มีงบประมาณที่ต่อเนื่อง จุดแข็งในการทำงานป้องกัน HIV ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ของเราคือ ???
ความจริงที่มิอาจปฏิเสธ ถึงจะทำงานมากี่ปี เราก็ยังเป็นคนนอกสำหรับพวกเขา เขาไม่ได้เปิดทุกเรื่องกับเรา เขามีเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเรา ถ้าเราทำ-เขาได้ประโยชน์-เอา อะไรที่เสี่ยงต่อเขา???? ความเข้มข้นทางความคิด ความคาดหวัง ที่แตกต่างกัน PR-SR – Outreach worker – Peer – volunteer
ปรัชญาการทำงาน Work with ไม่ใช่ work for เขาต้องโตและแข็ง ไม่ใช่เรา เขาต้องสะท้อนความรู้สึก และปกป้องสิทธิตัวเองไม่ใช่เรา อย่ามองว่าเขาคือผู้ด้อย แต่ต้องมองว่าเขาคือหุ้นส่วน พวกเราอย่าเป็นผู้เชี่ยวชาญ แต่ให้กระหายที่จะเรียนรู้ ทุกคำตอบอยู่ในกลุ่มพวกเขา ไม่ใช่อยู่ในห้องประชุม เปลี่ยนบทบาทจาก trainer to facilitator
ออมทรัพย์ – กองทุนสุขภาพ ของฟรีไม่มีในโลก หรือถ้ามีแป๊บเดียวก็หมด ออมทรัพย์คือเก็บออม ฝึกนิสัยประหยัด มีเงินแก้ปัญหายามจำเป็น การรวมกลุ่ม-ลดต่างคนต่างเก่ง ฝึกการยอมรับและทำงานร่วมกัน เราต้องวางบทบาทให้เหมาะ หลายกลุ่ม เชื่อมกันเป็นเครือข่าย (ลืมโครงสร้าง พสต อสต ซะ เรียนรู้โครงสร้างของพวกเขา) กิจกรรมไหนดี ทำต่อ กิจกรรมไหนไม่สำเร็จอย่าท้อ อย่าถอย หาทางอื่น คิด/ทำ นอกกรอบ พวกเราอาจจะไม่มีทุนที่เป็นเงินมากมาย แต่มากพอที่จะเข้าถึงและ สร้างทุนทางสังคม (กลุ่ม เครือข่าย) และทุนทางวัฒนธรรม
เริ่มจากออมทรัพย์ Input : ออมทรัพย์ (ฝาก / กู้) Process : การรวมตัว เครือข่าย การแลกเปลี่ยนข้อมูล Output/Outcome สวัสดิการชุมชน : ร้านค้า ฌาปนกิจ กองทุนพัฒนา กองทุนสุขภาพ
ถึงแม้ว่า...ฟ้ามิตรหมด กลุ่ม เครือข่ายยังอยู่ แกนนำของเขา ทำงานเพื่อพวกเขากันเอง หน่วยงานสนใจและให้ความสำคัญกับความเป็นเครือข่าย มากกว่าการดูบัตร (เถื่อนหรือไม่เถื่อน)
Thank You Imagination is more importance than knowledge. Learn to know how is more importance than learn to know what.