มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Communities of Practice (CoP)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยให้นักเรียน
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา การนิเทศการศึกษา หลักการ พัฒนา การโค้ช (Coaching) มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา สร้างความร่วมมือของผู้นำการเปลี่ยนแปลงและเพื่อนร่วมงาน ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความมีเหตุผล คุณค่าและประโยชน์ในการนำไปใช้ ความมั่นใจในการเปลี่ยนแปลงตนเองและองค์กร โค้ช คือ กัลยาณมิตรพัฒนา ผู้ส่งเสริมสะท้อนคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง เปรียบเสมือนกระจกแห่งการเรียนรู้ของครูสู่คุณภาพผู้เรียน

วัตถุประสงค์ สะท้อนคิด สรุปความรู้ ปฏิบัติการจริง ได้ฝึกโค้ช อย่างกัลยาณมิตร วางแผน การโค้ช วัตถุประสงค์ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจในการโค้ช แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการโค้ช

สร้างแนวคิด วิธีปฏิบัติในการโค้ช สร้างและขยายเครือข่ายการโค้ช ประโยชน์ ของการโค้ช เป็นกัลยาณมิตรร่วมพัฒนาในสถานศึกษา สร้างสรรค์การคิดพัฒนาตนอย่างสมเหตุสมผล

ย้อนรอยแล้วถอดรหัสความรู้เดิม 1. ให้ฝึกถอดรหัสความรู้เดิมได้ วัตถุประสงค์ 2. ตั้งคำถามเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการโค้ช 1. ทราบความรู้เบื้องต้น ผลลัพธ์ 2. ทราบคำถามของผู้ฝึก

คำถามจากวิทยากร การโค้ชมีจุดมุ่งหมายอะไร? ข้อ 1 ผลลัพธ์ที่แสดงถึงความสำเร็จของการโค้ชคืออะไร? ข้อ 2 มีกิจกรรม เทคนิค และวิธีการใดที่ใช้ในการโค้ช? ข้อ 3 ข้อ 4 ประโยชน์ที่ได้จากการโค้ชมีอะไรบ้าง? ข้อ 5 มีคำถามอะไรเกี่ยวกับการโค้ช?

สรุป 1. ความไม่สบายใจของตนมีอะไรบ้าง? 1. ความไม่สบายใจของตนมีอะไรบ้าง? 2. ปัญหาและพฤติกรรมที่ต้องแก้ไขเป็นอันดับแรกคืออะไร? 3. ครูควรแก้ปัญหา โดยคิดและทำอะไร? 4. ผลการแก้ไขปัญหาของครูสะท้อนการเปลี่ยนแปลงต่อครู และนักเรียนอย่างไร? 5. อะไรคือความรู้ใหม่ หรือความคิดใหม่ที่ค้นพบ?

บทบาทในการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษา เน้นมาตรฐาน เน้นศักยภาพ ทั่วไป การนิเทศ (Supervision) การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) เฉพาะ การอบรม (Training) การชี้แนะ (Coaching) ความรู้ความเข้าใจ การนำไปใช้

ความสำคัญของการ Coaching ประเภทการพัฒนา ระดับผลกระทบ ความ ตระหนัก ความรู้ ทักษะ การ นำไปใช้ 1. การศึกษาค้นคว้า  2. การให้เห็นแบบอย่างที่ดี   3. การฝึกปฏิบัติ    4. การชี้แนะ (Coaching) การสอน    

ระดับความรู้ระยะสั้น วิธีการพัฒนา ระดับความรู้ระยะสั้น ระดับความรู้ระยะยาว 1. ให้ความรู้เชิงทฤษฎี 20% 5% 2. การสาธิต 35% 10% 3. การเน้นแบบอย่าง/แนะวิธีปฏิบัติ 70% 20% 4. การให้ปฏิบัติ 80% 25% 5. การชี้แนะ (Coaching) 90% 90%

ชี้แนะในบริบทโรงเรียน ข้อห้าม สร้างความสัมพันธ์ เสริมพลังอำนาจ ห้ามบอก ทำงานเป็นระบบ ห้ามสอน พัฒนาต่อเนื่อง ห้ามสั่ง หลักการโค้ช ข้อควรปฏิบัติ มีเป้าหมายร่วมกัน ชี้แนะในบริบทโรงเรียน ให้กำลังใจ นำไปใช้ได้จริง จุดประกายความคิด สะท้อนผลการเรียนรู้ ห่วงใยเอื้ออาทร

กระบวน การโค้ช ก่อนการโค้ช ระหว่างการโค้ช หลังการโค้ช ร่วมกันกำหนดจุดเน้นที่ต้องการโค้ช เน้นการเชื่อมโยงความรู้สู่การปฏิบัติ ก่อนการโค้ช เน้นการทำงานเชิงลึก ประเด็นที่เป็นจุดเล็ก ๆ แต่เป็นประโยชน์ กระบวน การโค้ช ศึกษาต้นทุนเดิม ระหว่างการโค้ช ให้ครูประเมินการทำงานของตนเอง ต่อยอดประสบการณ์ ร่วมกันสรุปผลการชี้แนะ หลังการโค้ช วางแผนที่จะกลับมาใหม่ ตกลงร่วมกันในเรื่องอื่น ๆ

การให้ข้อมูลย้อนกลับ เครื่องมือการโค้ช ฉุดดึงครู การรับฟัง การท้าทายให้ทำงาน ผลักดัน การถามคำถามปลายเปิด การให้ข้อมูลย้อนกลับ การสั่ง การสอน การบอก

ถ้าจะบอกต้องมีทางเลือก “การโค้ชจะสำเร็จได้ต้องลงมือปฏิบัติจริง” กลวิธีการโค้ช เดินทีละก้าวกินข้าวทีละคำ จับถูกไม่จับผิด ปัญหาใครคนนั้นต้องแก้ ชมสอง ชี้จุดบกพร่องหนึ่ง ถามโดยไม่หวังคำตอบ ให้การบ้านต้องตามมาตรวจ ถ้าจะบอกต้องมีทางเลือก แกล้งทำเป็นไม่รู้ ฟังให้ถึงที่สุด เรียนรู้ร่วมกัน “การโค้ชจะสำเร็จได้ต้องลงมือปฏิบัติจริง”