Datadictionary Prakan Sringam.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
12. การบันทึกข้อมูลลงในตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
SQL - Structured Query Language
Structured Query Language (SQL)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การสร้างตาราง (Table)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
The Relational Data Model
โปรแกรมยูทิลิตี้.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
Data Modeling Chapter 6.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
โปรแกรม Microsoft Access
การสร้างฐานข้อมูลโดยการใช้ phpMyAdmin
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
CHAPTER 12 SQL.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
CHAPTER 13 MySQL and phpMyAdmin
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
จากรูป ถามถึง Foreign key ของใบจัดสินค้า หากใครเลือกตอบ ในวงกลมสีเขียว ได้คะแนน นอกนั้น หักคะแนน  ส่วนเลขที่ใบ นั้น ถือเป็น.
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1
Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Datadictionary Prakan Sringam

การทำพจนานุกรมข้อมูล การทำพจนานุกรมข้อมูล            ในการออกแบบสร้างตารางเพื่อให้เก็บข้อมูลได้จำนวนมากนั้น ผู้ออกแบบต้องวิเคราะห์จากเอกสาร หรือสอบถามความต้องการจากผู้ใช้ เมื่อได้ข้อมูลเหล่านั้นแล้วจึงนำมาออกแบบข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบตาราง ต่อจากนั้นสร้างเป็นพจนานุกรมข้อมูล ก่อนที่จะที่จะลงมือสร้างฐานข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ พจนานุกรมข้อมูลสร้างขึ้นเพื่ออธิบายรายละเอียดของข้อมูลในแต่ละตาราง เพื่อเป็นสื่อให้ผู้ออกแบบฐานข้อมูลและผู้พัฒนาระบบฐานข้อมูลได้เข้าใจตรงกัน สร้างฐานข้อมูลได้ถูกต้องตามผู้ออกแบบ

รายละเอียดการจัดเก็บ ชนิดข้อมูล ชนิดข้อมูล รายละเอียดการจัดเก็บ INT, INTEGER จัดเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่มีค่าตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง2,147,483,647 ประเภทข้อมูลนี้นิยมใช้ในการคำนวณ SMALLINT จัดเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่มีค่าตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 TINYINT จัดเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่มีค่าตั้งแต่ -128 ถึง 127 DECIMAL(L,D) จัดเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่กำหนดเป็นจำนวนหลักและจำนวนจุดทศนิยมได้ เช่น DECIMAL(5,2) หมายถึง สามารถเก็บข้อมูลได้ 3 หลักและทศนิยม2 ตำแหน่งในระบบเลขฐานสิบ FLOAT(m) จัดเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีทศนิยม กำหนดให้ m มีค่าน้อยกว่า 24

รายละเอียดการจัดเก็บ ชนิดข้อมูล ชนิดข้อมูล รายละเอียดการจัดเก็บ CHAR(n) จัดเก็บตัวอักขระที่ประกาศได้จำนวน n ตัวอักษร เป็นความกว้างคงที่ เช่นCHAR(10) ถ้ามีข้อมูลเพียง 5 ตัวอักษรจะถูกใช้ตามจำนวน 10 ตัวอักษรตามที่กำหนดเอาไว้ สามารถเก็บตัวเลขได้แต่ไม่สามารถนำมาคำนวณได้ VARCHAR(n) จัดเก็บข้อมูลประเภทอักขระเช่นเดียวกับ CHAR แต่จะเก็บข้อมูลตามที่มีข้อมูลอยู่จริง สามารถจัดเก็บตัวอักขระได้ถึง 255 อักขระ TEXT เหมาะสำหรับจัดเก็บอักขระที่มากกว่า 255 อักขระ สามารถจัดเก็บอักขระได้สูงสุด 65,535 อักขระ DATE จัดเก็บข้อมูลที่เป็นวันเดือนปี มีรูปแบบ YYYY-MM-DD ค่าตั้งแต่ 1000-01-01 ถึง 9999-12-31 DATETIME จัดเก็บข้อมูลที่เป็นวันเดือนปีเวลา มีรูปแบบ YYYY-MM-DD HH:MM:SSค่าตั้งแต่ 1000-01-01 00:00:00ถึง9999-12-31 23:59:59

. คำสั่งสร้างฐานข้อมูล คำสั่งสร้างฐานข้อมูล(create database) เป็นคำสั่งสำหรับให้ ผู้บริหารฐานข้อมูลหรือผู้มีสิทธิ์สร้างฐานข้อมูล โดยการกำหนดชื่อฐานข้อมูลแต่ละฐานข้อมูล รูปแบบ   CREATEDATABASE database_name; database_name คือ ชื่อฐานข้อมูล ตัวอย่างที่ 3.1 ต้องการสร้างฐานข้อมูลชื่อ RH_NEGATIVE CREATE  DATABASE   RH_NEGATIVE;

คำสั่งสร้างตาราง คำสั่งสร้างตาราง(create table) เป็นคำสั่งสำหรับสร้างโครงสร้างของตารางตามพจนานุกรม โดยมีการระบุชื่อตารางชื่อแอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล ขนาดข้อมูลและการระบุว่าแอตทริบิวต์ใดเป็นคีย์หลักหรือคีย์นอก

รูปแบบ CREATE TABLE table_name (   CREATE TABLE table_name ( Column_name1  data_typecolumn_attribute, Column_name2data_typecolumn_attribute, Primary key (column_name) Foreign key (column_name)); Table_name          คือ     ชื่อของตารางที่ต้องการสร้าง Column_name1     คือ     ชื่อของแอตทริบิวต์ที่ 1 Column_name2     คือ     ชื่อของแอตทริบิวต์ที่ 2 data_type             คือ     ชนิดของข้อมูล column_attribute   คือ     คุณสมบัติของแอตทริบิวต์

3. คำสั่งเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง คำสั่งเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง (alter table) เป็นคำสั่งสำหรับเปลี่ยนโครงสร้างตาราง เช่น การเพิ่มหรือลบแอตทริบิวต์ หรือการเพิ่มคีย์หลัก หรือคีย์นอก เช่น จากตัวอย่างที่2 ถ้ากรณีที่ลืมกำหนดคีย์หลัก สามารถเขียนคำสั่งเพื่อกำหนดเพิ่มเติมภายหลังได้ดังนี้ รูปแบบ ALTER TABLE  table_name    ADD  PRIMARY KEY (column_name);