สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
YOUR SUBTITLE GOES HERE
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
สิทธิตามกฎหมายของประชาชน สิทธิตาม กฎหมาย บทบัญญัติและผู้เกี่ยวข้อง 1. สิทธิได้รู้ (Right to Know) 1.1 สิทธิได้รู้ตามมาตรา 7 ( เรื่องที่ต้องให้รู้ ) มาตรา.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
การเขียนเชิงกิจธุระ.
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แฟ้มที่รายการ 1 ผล การ พิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อ เอกชนรวมทั้ง ความเห็นแย้งและคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว ( คำสั่ง อนุมัติ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์

key concept สิทธิที่จะรู้ (Right to Know) อิสระแห่งข่าวสาร (Freedom of Information) รัฐบาลโปร่งใส (Transparent Government) ธรรมาภิบาล (Good Governance) nakorns@hotmail.com

รัฐธรรมนูญ 2540 ม.4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง

ม. 58 สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ nakorns@hotmail.com

ม.59 สิทธิได้รับข้อมูลและคำชี้แจง จากหน่วยงานของรัฐ nakorns@hotmail.com

ม.76 มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ม.76 มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ nakorns@hotmail.com

รัฐธรรมนูญ ม.4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง nakorns@hotmail.com

ม.34 สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ nakorns@hotmail.com

รัฐธรรมนูญ 2550 ม.56 สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ม.57 สิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง จากหน่วยงานของรัฐ ก่อนอนุญาต หรือการดำเนินโครงการหรือกิจกรรม nakorns@hotmail.com

รัฐธรรมนูญ 2550 ม.87 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมือง การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ม.35 สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การเผยแพร่ข้อความหรือภาพต่อสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ สิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงประโยชน์โดยมิชอบจากข้อมูลส่วนบุคคล nakorns@hotmail.com

นโยบายรัฐบาล จะส่งเสริมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการและสื่อสาธารณะ อย่าง กว้างขวาง เป็นธรรม และรวดเร็ว nakorns@hotmail.com

เจตนารมณ์ของกฎหมาย ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ กำหนดข้อยกเว้นให้ชัดเจน คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล nakorns@hotmail.com

สาระสำคัญ ของกฎหมาย

ความหมาย ข้อมูล : ข้อเท็จจริง สิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง ข่าวสาร : ข้อความที่รับ-ส่งเพื่อสื่อสารให้รู้เรื่องกัน

ข้อมูลข่าวสาร - สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อเท็จจริง - สื่อความหมายโดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการใดๆ - อยู่ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง - การบันทึกโดยคอมพิวเตอร์หรือวิธีที่ทำให้ สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้

ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ ข้อมูลที่อยู่ในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหน่วยงาน ของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการ ดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับเอกชน

“ หน่วยงานของรัฐ ” ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วน ราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ

“เจ้าหน้าที่” ผู้ซึ่งปฏิบัติงาน ให้แก่หน่วยงานของรัฐ nakorns@hotmail.com

องค์กรที่ใช้อำนาจตามกฎหมาย - องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ - สภาทนายความ - แพทยสภา - คณะกรรมการควบคุมการประกอบ อาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม - เนติบัณฑิตยสภา - สภาผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ

1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) 3) การจัดหาให้เอกชนเฉพาะราย (มาตรา 11)

1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7). (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร (2) อำนาจหน้าที่และวิธีดำเนินงาน (3) สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร (4) กฎ มติ ค.ร.ม. ข้อบังคับ คำสั่งฯ (5) ข้อมูลข่าวสารอื่น

2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) (1) ผลการพิจารณาที่มีผลต่อเอกชน โดยตรง (2) นโยบายและการตีความ (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ (4) คู่มือหรือ คำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน (5) สิ่งพิมพ์ที่มีการอ้างอิงถึงใน ราชกิจจานุเบกษา

(6) สัญญาสำคัญของรัฐ. - สัญญาสัมปทาน. - สัญญาผูกขาดตัดตอน (6) สัญญาสำคัญของรัฐ - สัญญาสัมปทาน - สัญญาผูกขาดตัดตอน - สัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทำบริการสาธารณะ (7) มติ ค.ร.ม. มติคณะกรรมการ (8) ประกาศประกวดราคา/สอบราคา สรุปผลการจัดซี้อจัดจ้างรายเดือน

วิธีการจัดข้อมูล ไว้ให้ตรวจดู (1) จัดให้มีสถานที่ (2) จัดทำดรรชนี (3) ประชาชนสามารถค้นหาได้เอง (4) คำนึงถึงความสะดวก (5) อาจเป็นห้องสมุดหรือ ห้องในหน่วยงานอื่น

3) การจัดหาให้เอกชนเป็นการ เฉพาะราย (มาตรา 11) (1) มีการยื่นคำขอระบุข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจ เข้าใจได้ตามควร (2) ต้องไม่ขอจำนวนมาก หรือ บ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

ลักษณะข้อมูลที่จัดให้ (1) ข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว (2) ไม่ต้องจัดทำขึ้นใหม่ เว้นแต่การแปรสภาพเป็นเอกสาร แต่หากเห็นว่ามิใช่เป็นการแสวงหาประโยชน์ทางการค้า และเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ หรือเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะ อาจจัดหาให้ก็ได้

ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ (มาตรา 14)

ข้อมูลที่อาจไม่ต้องเปิดเผย (มาตรา 15 ) (1) ความมั่นคงของประเทศ (2) การบังคับใช้กฎหมาย (3) ความเห็นภายใน (4) ความปลอดภัยของบุคคล (5) ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (6) กฎหมายหรือบุคคลเจ้าของข้อมูลกำหนดมิให้เปิดเผย

ข้อมูลที่อาจไม่ต้องเปิดเผย ใช้ดุลพินิจโดยคำนึงถึง ข้อมูลที่อาจไม่ต้องเปิดเผย ใช้ดุลพินิจโดยคำนึงถึง...... 1) การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงาน 2) ประโยชน์สาธารณะ 3) ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง

การเปิดเผยข้อมูล ประเด็นพิจารณา 1) วิธีการเปิด - เปิดอย่างไร (ขอดู-ขอสำเนา-ให้รับรองสำเนา) 2) เนื้อหาที่เปิด - เปิดแค่ไหน (ทั้งหมด - บางส่วน) 3) เวลาที่เปิด - เปิดเมื่อใด (กรณีความสำคัญของข้อมูลขึ้นกับเงื่อนเวลา)

ความรับผิด ของเจ้าหน้าที่

มาตรา 20 การเปิดเผยข้อมูลใด แม้จะเข้าข่ายต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใด ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิด หากเป็นการกระทำโดยสุจริต

(1) เจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการตามระเบียบตามมาตรา 16 nakorns@hotmail.com

(2) เจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มีคำสั่งให้เปิดเผยเป็นการทั่วไป หรือเฉพาะแก่บุคคลใด เพื่อประโยชน์อันสำคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ หรือชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่นของบุคคล

(3) คำสั่งนั้นได้กระทำโดยสมควรแก่เหตุ ในการนี้จะมีการกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเหมาะสมก็ได้ nakorns@hotmail.com

ไม่เป็นเหตุให้หน่วยงาน การเปิดเผยข้อมูล ไม่เป็นเหตุให้หน่วยงาน พ้นจากความรับผิดตามกฎหมาย หากจะพึงมี ในกรณีดังกล่าว

มติคณะรัฐมนตรี มาตรการกำกับ การบังคับใช้กฎหมาย

มติ ค.ร.ม. 9 มี.ค.42 1. เมื่อ กขร.ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นต่อเรื่องร้องเรียนให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและโดยด่วนที่สุด 2. เมื่อ สขร.ขอความร่วมมือ ขอเอกสาร/ข้อเท็จจริง ให้หน่วยงานของรัฐให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือ

3. เมื่อมีคำวินิจฉัย ให้ถือปฏิบัติตาม ภายใน 7 วัน 4. หากไม่ปฏิบัติตามโดยไม่มีเหตุผลสมควร ให้ผู้บังคับบัญชาลงโทษทางวินัยทุกกรณี

มติ ค.ร.ม. 28 ธ.ค. 47 ให้ทุกหน่วยงานบริการข้อมูลแก่ประชาชน มติ ค.ร.ม. 28 ธ.ค. 47 ให้ทุกหน่วยงานบริการข้อมูลแก่ประชาชน ด้วยความรวดเร็ว กรณีมีข้อมูลพร้อมที่จะจัดหาให้ได้ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว หรือภายในวันที่รับคำขอ

- กรณีที่ข้อมูลที่ขอมีจำนวนมาก หรือไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน จะต้องแจ้งให้ผู้ขอทราบภายใน 15 วัน รวมทั้งแจ้งกำหนดวันที่จะดำเนินการแล้วเสร็จให้ทราบด้วย nakorns@hotmail.com

2. ให้นำ ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา ผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เผยแพร่ผ่าน Web Site

3. ให้ส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารอย่างเคร่งครัด โดยเน้นการฝึกอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ เพื่อให้บริการข้อมูลแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ nakorns@hotmail.com

มติ ค.ร.ม. 11 เม.ย. 49 กำหนดให้การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเป็นตัวชี้วัด (KPIs) ประสิทธิภาพของหน่วยงานรัฐ ในปี 2550 nakorns@hotmail.com

มติ ค.ร.ม. 20 ก.พ. 50 กำหนดให้การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเป็นตัวชี้วัด (KPIs) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น nakorns@hotmail.com

มติ ค.ร.ม. 20 ก.พ. 50 -ให้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเอกสารราชการอย่างเคร่งครัด - บรรจุเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรในสถาบันการศึกษา nakorns@hotmail.com

มติ ค.ร.ม. 20 ก.พ. 50 ให้จัดทำเป็นส่วนหนึ่งของรายงานประจำปีของหน่วยงาน มติ ค.ร.ม. 20 ก.พ. 50 ให้จัดทำเป็นส่วนหนึ่งของรายงานประจำปีของหน่วยงาน nakorns@hotmail.com

รัฐรู้อย่างไร ประชาชนรู้อย่างนั้น

เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

ดร. นคร เสรีรักษ์ โทร. 0-2282-9270 โทรสาร 0-2281-8543 nakornseri@gmail ดร.นคร เสรีรักษ์ โทร. 0-2282-9270 โทรสาร 0-2281-8543 nakornseri@gmail.com

ดร.นคร เสรีรักษ์www.oic.go.th http://nakorn.iirt.net nakorns@hotmail.com