SUPPLY CHAIN 4.0 TRANSFORMATION การก้าวผ่านโซ่อุปทานโลจิสติกส์ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี 4.0 เอกสารประกอบการบรรยาย ทิศทางโลจิสต์ในอนาคต โดย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
Advertisements

ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
บริษัท The Best Gems จำกัด
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล. กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.)
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานบังคับ (Official Standard)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4
ตลาดกลาง e-Marketplace
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
Strategic Line of Sight
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 3 สภาพแวดล้อมของการจัดการธุรกิจ
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
มาตรฐานการทำงานเพื่อความเป็นเลิศในงานโลจิสติกส์ Logistics Standard Best Practice เอกสารประกอบการปาฐกถาพิเศษ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปการตลาดระดับโลก
SMS News Distribute Service
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
ความคิดในเชิงกลยุทธ์
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SUPPLY CHAIN 4.0 TRANSFORMATION การก้าวผ่านโซ่อุปทานโลจิสติกส์ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี 4.0 เอกสารประกอบการบรรยาย ทิศทางโลจิสต์ในอนาคต โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการกลุ่มบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา www.tanitsorat.com สามารถสแกน QR-Code ได้ที่นี่

MEAN : SUPPLY CHAIN 4.0 SUPPLY CHAIN 4.0 เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการปฏิสัมพันธ์ของกิจกรรมโลจิสติกส์ที่อยู่ในช่วงรอยต่อของโซ่อุปทานการผลิตได้แก่ การเคลื่อนย้ายข้อมูล ข่าวสาร ตลอดจนสินค้าและบริการรวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้แพลตฟอร์มของสมาร์ทเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับข้อมูลดิจิทัล, เอไอ, ระบบอัตโนมัติอัจฉริยะ, ไอโอที, บล็อกเชน, บิ๊กดาต้า ฯลฯ เพื่อเชื่อมโยงให้เกิดการบูรณาการตั้งแต่วัตถุดิบ, สินค้ากึ่งสำเร็จรูป, สินค้าขั้นสุดท้าย, แรงงาน, ปัจจัยการผลิตและทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อให้การส่งมอบสามารถสนองตอบต่อธุรกรรมดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล NEW SUPPLY CHAIN เป็นรูปแบบการผสมผสานการเชื่อมโยงข้อมูลดิจิทัลแบบอัตโนมัติผ่านช่องทาง IoT & Multi Channel อาจเป็นการสื่อสารระหว่างคนกับเครื่องจักรอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์AI กับแมชชีนเลิร์นนิ่งเพื่อให้กระบวนการรับข้อมูล จัดเตรียม-จัดหาวัตถุดิบให้สอดคล้องกับกระบวนการผลิตที่ขับเคลื่อนด้วยสมาร์ทเทคโนโลยีตลอดจนการกระจายและการส่งมอบสินค้าทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ได้อย่างลงตัว www.tanitsorat.com

MEAN : DIGITAL LEAN AUTOMATION SUPPLY CHAIN LEAN MANUFACTURING ระบบการผลิตหรือธุรกรรมธุรกิจให้มีประสิทธิภาพด้วยการลดความสูญเปล่า (Time Waste) หรือกิจกรรมคอขวดในกระบวนการผลิต (Process Bottle Neck) ซึ่งมีผลกระทบกับการผลิตที่ไม่ต่อเนื่องเพราะการรอคอยวัตถุดิบหรือปัจจัยการผลิต (Delivery Lead Time) มีผลต่อต้นทุนที่เกิดจากสินค้าคงคลังที่มากเกินพอดี (Over Inventory) รวมถึงความสูญเสียในกระบวนการผลิต (Defect & Scrub) ซึ่งส่งผลต่อผลิตภาพการผลิตที่ไร้ประสิทธิภาพ DIGITAL LEAN AUTOMATION SUPPLY CHAIN ระบบซัพพลายเชนซึ่งเป็นที่มุ่งเน้นถึงประสิทธิภาพของการทำงานด้วยการใช้กลไกของนวัตกรรมและดิจิทัลเทคโนโลยีในการเชื่อมโยงข้อมูลอัตโนมัติใน โซ่อุปทานการผลิตทั้งระหว่างคนกับคน, คนกับเครื่องจักรและเครื่องจักรกับเครื่องจักร การสื่อสารที่ผ่านช่องทางดิจิทัลหลายรูปแบบ (Multi-Channel & Omni Channel) เป็นการเชื่อมโยงทุกธุรกิจที่อยู่ในโซ่อุปทานการผลิตให้เป็นเอกภาพตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำได้อย่างลงตัว www.tanitsorat.com

DIGITAL PLATFORM ON SUPPLY CHAIN 4.0 11. SMART DELIVERY 1. DIGITAL PLATFORM AUTONOMOUS 2 . AI / MACHINE LEARNING / Quantum Computing 10. I-TRANSPORT DIGITAL PLATFORM ON SUPPLY CHAIN 4.0 3. I-ROBOTS COBOTS 9. I- WAREHOUSING & DISTRIBUTION 4. BIG DATA ANALYTICS 8. I-PURCHASING & DIGITAL ORDERING 5. INDUSTRAIL IoT 6. CYBER BLOCK CHAIN 7. DIGITAL MONEY ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์ www.tanitsorat.com

INDUSTRIES 4.0 DIRECTION ทิศทางของอุตสาหกรรมแห่งอนาคต 1 อุปสงค์ที่เปลี่ยนแปลงและคาดการณ์ไม่ได้ (UNPREDICT DEMAND) สินค้าและบริการภายใต้เศรษฐกิจดิจิทัลที่มีความทันสมัย เปลี่ยนแปลงตามพฤติกรรมผู้บริโภคที่เข้าถึงสื่อดิจิทัลซึ่งมาเร็วและไปเร็ว 2 อุตสาหกรรมจะต้องตอบสนองแพลทฟอร์มดิจิทัล (DIGITAL PLATFORM RESPONSIVENESS) การสนองตอบต่อโลกใหม่ภายใต้นวัตกรรมและเทคโนโลยี จะทำให้รูปแบบการบริโภค-ช่องทางการจัดจำหน่าย และโลจิสติกส์จะเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง 3 โรงงานอัจฉริยะ (SMART FACTORY) อุตสาหกรรมในอนาคตจะขับเคลื่อนจากความต้องการแบบเฉพาะเจาะจง (UNIQUE) ทำให้การจัดส่งและโลจิสติกส์มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สมาร์ทโลจิสติกส์ ในสายการผลิตภายใต้อุปสงค์แบบ ยูนิคและการขาดแคลนแรงงาน 4 กิจกรรมโลจิสติกส์ต้องสนองตอบอุปสงค์ใหม่ได้อย่างลงตัว การจัดส่งสินค้าจะเป็นแบบเรียลไทม์ ช่องทางจำหน่ายผ่านทางออนไลน์ผู้บริโภคให้ความสำคัญภาพลักษณ์สินค้าพอกับคุณภาพ 5 คนต้องเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีอัจฉริยะ (HUMAN & AUTONOMOUS CONNECTIVITY) บุคลากรในโซ่อุปทาน 4.0 จะต้องสามารถเชื่อมโยงกับระบบการผลิตที่ไม่ใช้แรงงานมนุษย์ในการควบคุมเครื่องจักร (MECHATRONICS & ROBOTIC MANUFACTURING) 6 PROCESS & PRODUCTS DISRUPTION หากปรับเปลี่ยนไม่ได้เทคโนโลยีใหม่อาจเป็นภัยคุกคามในอนาคต www.tanitsorat.com

CONSUMER 4.0 TRANSFORMATION การก้าวผ่านอุปสงค์ดิจิทัล 1 DIGITAL ECONOMY เศรษฐกิจดิจิทัล ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและสมาร์ทเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานของกลไกธุรกรรมใหม่ทั้งด้านอุตสาหกรรม บริการ การบริโภค 2 CONSUMER 4.0 จะเป็นผู้กำหนดกติกาของรูปแบบการค้า ภายใต้สังคมดิจิทัลการรับรู้เกี่ยวกับสินค้าและภาพลักษณ์ของธุรกิจผ่านระบบโซเชียลมีเดียเป็นทั้งปัจจัยบวกและลบ MULTI CHANNEL & OMNI CHANNEL การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารในโซ่อุปทานจะเป็นการสื่อสารออนไลน์หลายช่องทาง 3 TECHNOLOGY TRANSFORMATION ความอยู่รอดเกี่ยวข้องกับความสามารถในการก้าวผ่านโดยใช้เทคโนโลยีเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์กร 4 GLOBAL STANDARD เกี่ยวข้องกับมาตรฐานในโซ่อุปทานการผลิตมีผลต่อภาพลักษณ์ธุรกิจทั้งด้านจริยธรรม การค้ามนุษย์ การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการรับผิดชอบต่อสังคม 5 6 SKILL & SMART PEOPLE เกี่ยวข้องกับคนในองค์กรต้องมีทักษะและองค์ความรู้สอดคล้องกับนวัตกรรมและ DEMAND 4.0 ซึ่งมีความซับซ้อนแปรปรวนเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว www.tanitsorat.com

SUPPLY CHAIN 4.0 CONTENT บริบทใหม่ของโซ่อุปทานดิจิทัล 1. SMART TECHNOLOGY DRIVEN : กิจกรรมในโลจิสติกส์ในโซ่อุปทานต้องขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี 2. SUPPLY CHAIN 4.0 STRUCTURE : ปรับโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งขับเคลื่อนด้วยสมาร์ทเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลอัจฉริยะ 3. MULTI CHANNEL CONNECTIVITY : ยกระดับกิจกรรมในเครือข่ายโซ่อุปทานให้สามารถเชื่อมโยงเข้าถึง ข้อมูลดิจิทัลเพื่อวางแผนและการจัดการกระบวนการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ การ-กระจายสินค้าและบริการ ตลอดโซ่อุปทานการผลิต 4. BEST PRACTICE SYSTEM : ระบบปฏิบัติการความเป็นเลิศเพื่อขจัดกิจกรรมที่เป็นคอขวด มุ่งเน้นความมีประสิทธิภาพ-ประสิทธิผล เพิ่มผลิตภาพการผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขัน 5. NEW BUSINESS DESIGN : ออกแบบธุรกรรมธุรกิจให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีเกาะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและอุปสงค์ของลูกค้า 6. ON BATCH LEAN DELIVERY : สถาปนาระบบการส่งมอบ ณ ไลน์การผลิตเพื่อสนองต่อการผลิตแบบ “Digital Lean Manufacturing” ซึ่งโซ่อุปทานมีความซับซ้อนมุ่งเน้นการผลิตแบบ Stockless www.tanitsorat.com

SUPPLY CHAIN NEW PARADIGM (BEST PRACTICE) การทบทวนกระบวนทัศน์ใหม่ของโซ่อุปทานการผลิต 4.0 1. LEAN AUTOMATION MANUFACTURING CONNECTTIVITY ความสามารถในการเชื่อมโยงกับระบบการผลิตอัตโนมัติ 2. ZERO & NON-VALUE ADDED ELMINATED ความบกพร่องเป็นศูนย์และขจัดกิจกรรมส่วนเกินซึ่งไม่มีคุณค่าในทุกกระบวนการซึ่งทำให้ เกิดความสูญเปล่าทั้งด้านเวลา ต้นทุนและขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. TIME CONCIOUS เงื่อนเวลาเป็นหัวใจของทุกธุรกิจบนโซ่อุปทาน 4.0 เกี่ยวข้องกับการประกันเวลาในการรับและส่งสินค้าในโซ่อุปทานการผลิต 4. CYBER DATA LINK & DATA ANALYTIC เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลแบบอัตโนมัติ ทั้งด้านการจัดหา การรับและส่งมอบสินค้า-บริการ ระบบปฏิบัติการที่เป็นเลิศจะต้องสามารถวิเคราะห์จำแนกข้อมูลที่หลากหลายและซับซ้อนในโซ่อุปทาน 5. GLOBAL STANDARD BEST PRACTICE สถาปนาระบบปฏิบัติการความเป็นเลิศในโซ่อุปทานต้องสอดคล้องกับมาตรฐานสากลทั้งในด้านการทำงาน ด้านความปลอดภัย ด้านสุขอนามัย ด้านสิ่งแวดล้อม 6. RISK & UNPREDICT MANAGEMENT การบริหารความเสี่ยง-ความไม่แน่นอนและความต่อเนื่องการทำงานในโซ่อุปทานภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ (BCM) www.tanitsorat.com

การบริหารปัจจัยความเปลี่ยนแปลงในโซ่อุปทาน 4.0 Changing Factors in new supply chain 1. New Context Industry 4.0 การเปลี่ยนแปลงภายใต้บริบทใหม่ของอุตสาหกรรม Internal factors area External factors area 1 Lean Automation MANUFACTURING Connectivity External factors area Supply Chain Best Practice RISK & UNPREDICT 6 MANAGEMENT ZERO & NONVALUED ELMINATED 2 TIME CONCIOUS 3 GLOBAL STANDARD 5 BEST PRACTICE 4 CYBER DATA LINK & DATA ANALYTIC 3. New GEO-Business Environment Changing การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์แวดล้อมธุรกิจ 2. New Demand Changing การเปลี่ยนแปลงภายใต้ อุปสงค์ใหม่ Internal factors area Internal factors area External factors area www.tanitsorat.com โดย : ดร.ธนิต โสรัตน์

การบริหารปัจจัยความเปลี่ยนแปลงในโซ่อุปทาน 4.0 (1/3) Changing Factors in new supply chain (1/3) 1. New Context Industry 4.0 / การเปลี่ยนแปลงภายใต้บริบทใหม่ของอุตสาหกรรม  Innovation & Smart Technology Aging การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีก้าวหน้า  Digital Platform Economy ต้นทุนที่แข่งขันได้ด้วยการใช้ระบบปฏิบัติการดิจิทัล  Market & Demand Big Change ตลาดและอุปสงค์มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่  Changing In New Business Paradigm การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ของธุรกรรมธุรกิจ Human & Smart Machine Joint Value Chain Connectivity การเชื่อมโยงโซ่แห่งคุณค่าของคนกับเครื่องจักรอัจฉริยะ  Complicated In Supply Chain Management การบริหารโซ่อุปทานที่มีความซับซ้อน www.tanitsorat.com

การบริหารปัจจัยความเปลี่ยนแปลงในโซ่อุปทาน 4.0 (2/3) Changing Factors in new supply chain (2/3) (2) 2. New Demand Agenda / การเปลี่ยนแปลงภายใต้อุปสงค์ใหม่  Green Logistics โลจิสติกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  Organic & Healthy การใส่ใจด้านสุขภาพและสุขอนามัย  Human Right & Trafficking สิทธิมนุษย์ชนและการค้ามนุษย์  Business Transparency จริยธรรมธุรกิจ  Demographic Changes การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนอายุผู้บริโภค  Social Media influence อิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ www.tanitsorat.com

การบริหารปัจจัยความเปลี่ยนแปลงในโซ่อุปทาน 4.0 (3/3) Changing Factors in new supply chain (3/3) 3. New GEO-Business Environment Changing / การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์แวดล้อมธุรกิจใหม่  Fresh & Stronger Competitors คู่แข่งใหม่ที่สดกว่าและแข็งแรงกว่า  Disruptive Technology ภัยคุกคามจากเทคโนโลยีใหม่ที่ธุรกิจเข้าไม่ถึง  New Market Channel ช่องทางตลาดใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม Strength Point Disappear จุดแข็งที่เคยมีหมดไปหรือไม่เป็นที่ต้องการอีกต่อไป Threat form invincible ภายคุกคามจากการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง Competitiveness Lost การสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับคู่แข่ง www.tanitsorat.com

โจทย์อนาคต : การก้าวผ่านสภาวะแวดล้อมใหม่ทางธุรกิจ New Business Environment Transformation NEW BUSINESS PARADIGM การเปลี่ยนแปลงของกระบวนทัศน์ธุรกรรมดิจิทัลจากคนไปสู่เทคโนโลยี DISRUPTED DEMAND ความปรวนแปรความต้องการของผู้บริโภคภายใต้ อุปสงค์แห่งอนาคตซึ่งคาดเดาไม่ได้ โซ่อุปทานต้องมีความยืดหยุ่นและสนองตอบที๋รวดเร็ว NEW S-CURVE INDUSTRY ความท้าทายของการเชื่อมต่อโซ่อุปทานการผลิตกับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต INTELLIGENCE & ROBOTIC MANUFACTURING ความท้าทายของ โซ่อุปทานการผลิตภายใต้อุตสาหกรรมอัจฉริยะและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม OFFLINE / ONLINE OVERLAP การก้าวผ่านช่วงรอยต่อของคนต่างยุคและเทคโนโลยีต่างสมัย TRADE BARRIER / TRADE WAR ความท้าทายจากมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี - กฎเกณฑ์ระดับนานาชาติ (NTMs) - สงครามการค้าทำให้เกิดช่องว่างในโซ่แห่งคุณค่า GLOBAL SUPPLY CHAIN การเชื่อโยงโซ่อุปทานการผลิตระดับโลกจากการเป็นฐานการผลิตร่วมกันทำให้โซ่แห่งคุณค่าจะมีการซับซ้อน www.tanitsorat.com

องค์ประกอบของโครงสร้างโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ Smart Supply Chain Connectivity การเชื่อมโยงโซ่อุปทานการผลิตอัจฉริยะ Smart Human & Smart Technology Connectivity การเชื่อมโยงคนและเครื่องจักรอัจฉริยะ Cyber Lean Supply Chain ระบบปฏิบัติการในโซ่อุปทานจะต้องตอบสนองต่อ การเพิ่มผลิตภาพการผลิตและขีดความสามารถใน การแข่งขัน B2B Digital Link Across Supply Chain ข้อมูลดิจิทัลเชื่อมโยงข้ามระหว่างองค์กรใน โซ่อุปทานการผลิต Automation & Seamless Process การเชื่อมโยงข้อมูลอัตโนมัติแบบไร้ตะเข็บใน ทุกกระบวนการทำงาน Digital Distribution Platform ระบบปฏิบัติการกระจายสินค้าภายใต้ แพลทฟอร์มดิจิทัล Time & Condition Warrantee ระบบประกันเวลาและเงื่อนไขการส่งมอบ สินค้าเป็นหัวใจของซัพพลายเชนแห่ง อนาคต Autonomous Fulfilled การเติมเต็มสินค้าอัตโนมัติ ผ่านช่องทาง ออนไลน์หลายรูปแบบ Multi Channel Ordering การรับออเดอร์แบบหลายช่องทางทั้ง ออฟไลน์/ ออนไลน์/ อี-คอมเมิรซ Delivery on Demand การส่งมอบสินค้าจากโรงงานถึงโมเดลเทรด และผู้บริโภคที่อุปสงค์มีความหลากหลาย (B2B & B2C Delivery) องค์ประกอบของโครงสร้างโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ SUPPLY CHAIN ELEMENT BEST PRATICE Intelligent Transport System ระบบการขนส่งแบบชาญฉลาด Network Transport Platform เครือข่ายเชื่อมโยงการขนส่งทางไกล และ D2D หลายรูปแบบ Design & Innovation Fit For Customize การออกแบบและ นวัตกรรมให้เหมาะสมแต่ละลูกค้า Real Time Track & Trace การติดตามสถานะขนส่งแบบ ณ เวลาจริง สามารถติดตามข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ย้อนหลังด้านขนส่ง Safety & Green Transport ระบบปฏิบัติการความปลอดภัย และขนส่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม www.tanitsorat.com

NEW SUPPLY CHAIN START UP 1. DIGITAL LEAN AUTONOMOUS SUPPLY CHAIN : การสตาร์ทอัพซัพพลายเชนเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม โอโตเมชั่นซึ่งขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง การผลิตเป็นแบบ “STOCKLESS” การส่งมอบเป็นแบบ REAL TIME USE 2. MULTI CHANNEL & DATA PLATFORM ACCESSMENT : ความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูลบนแพลทฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบในโซ่อุปทานการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. SMART LOGISTICS DRIVEN : โลจิสติกส์ของยุค 2.0 มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สมาร์ทโลจิสติกส์ของยุค 4.0 ซึ่งขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อสนองตอบต่ออุปสงค์ในโซ่อุปทานการผลิตที่ผันแปรและไม่แน่นอน เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอัจฉริยะที่ทำให้กระบวนการต่าง ๆ ถูกเชื่อมโยงเป็นระบบออโตเมชั่นตั้งแต่การจัดซื้อจัดหา การเก็บรักษาและการกระจายสินค้าที่แตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง 4. SUPPLY CHAIN 4.0 TRANSFORMATION : การก้าวผ่านสู่ซัพพลายเชนซึ่งขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีให้สนองตอบต่อธุรกรรมใหม่เกี่ยวข้องกับ  วิสัยทัศน์  ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน  กลยุทธ์ที่สอดคล้องกับยุค 4.0  การบริหารความแตกต่าง  ความพร้อม (ทักษะ-ทุน-เทคโนโลยี)  การบริหารช่องว่างของคนต่างยุค www.tanitsorat.com

องค์ประกอบเพื่อให้เกิดโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain Achievement) 1. BUSINESS TRANSFORMATION เกี่ยวข้องกับการมีวิสัยทัศน์-ทิศทางธุรกิจ-ยุทธศาสตร์และแผนธุรกิจเป็นทางเดินในการก้าวผ่านองค์กร 2. DIGITAL DRIVEN การใช้กลไกขับเคลื่อนธุรกิจด้วยเทคโนโลยีก้าวหน้าตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ เทคโนโลยีต้องเอื้อต่อลูกค้าและขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. MULTI-CHANNEL / OMNI CHANNEL การใช้ช่องทางดิจิทัลเพื่อเชื่อมรอยต่อออฟไลน์สู่ออนไลน์ตั้งแต่การรับออเดอร์ การจัดเก็บสินค้า การจัดส่งและการกระจายสินค้าจนถึงผู้รับคนสุดท้าย 4. COMPETITIVEINESS ADVANTAGE การชิงความได้เปรียบในการแข่งขันเชิงรุกด้วยการปรับองค์กรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง 5. OPERATION STANDARD WARRANTEE ระบบประกันเวลาและมาตรฐานการทำงานในโซ่อุปทาน 6. TAILOR MADE STRATEGY ปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับความต้องการสำหรับลูกค้าแต่ละรายอย่างลงตัว 7. HUMAN KEY ACHEIVEMENT คนคือกุญแจแห่งความสำเร็จของการก้าวผ่านเกี่ยวข้องกับทัศนคติทางบวกการพัฒนาทักษะ-องค์ความรู้และความมุ่งมั่น www.tanitsorat.com

ความท้าทาย : คนคือหัวใจของการก้าวผ่านสู่เศรษฐกิจดิจิทัล Human Transformation Key Achievement Total Management Skill Commercial Knowledge Determination Entrepreneurship Multi Skill Multi Knowledge Problem Solving Management Specialist Skill Coaching Knowledge Leadership Base Skill Hand & Leg Work knowledge Operator Supervisor Manager CEO/Entrepreneur www.tanitsorat.com

การเปลี่ยนแปลงเพื่อการก้าวผ่าน Change for Transformation วิสัยทัศน์ / Vision การเห็นภาพอนาคตซึ่งมีทั้งโอกาส-ภัยคุกคามและวิกฤต กล้าที่จะปรับเปลี่ยน / Challenge ทิศทางธุรกิจที่ชัดเจน / Business Direction - ยุทธศาสตร์การรับมือภูมิทัศน์แวดล้อมธุรกิจใหม่ - แผนธุรกิจครอบคลุมตลาดและระบบปฏิบัติการที่เป็นเลิศ - การขับเคลื่อนองค์กรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ความพร้อมเพื่อการก้าวผ่าน / Readiness (หุ้นส่วน-คน-ทักษะ-ทุน) การบริหารช่องว่าง / Overlap Management www.tanitsorat.com

ทักษะคือกุญแจแห่งความสำเร็จ การพัฒนาต้องสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง METAL & COACH SKILL กลุ่มคนที่สามารถพัฒนาเป็นแกนหลักการพัฒนาทักษะขององค์กร 1. UP SKILL กลุ่มคนซึ่งสามารถต่อยอดทักษะใหม่ 2. RE-SKILL กลุ่มคนที่ต้องทบทวนทักษะ 3. PERIPHERAL GROUP กลุ่มคนหลุดขอบการพัฒนาไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 4. www.tanitsorat.com

สร้างภาพลักษณ์องค์กรดิจิทัล / Business 4.0 Public Image สามารถ SCAN ข้อมูลบริษัทได้ที่นี่ www.tanitsorat.com

Changing & Transform …. Or Fall into the Changing Stream & Eliminated เปลี่ยนแปลงเพื่อการก้าวผ่าน....หรือ ตกอยู่ในกระแสของการเปลี่ยนแปลงและถูกขจัดออกไป www.tanitsorat.com

สามารถสแกนด้วยมือถือ ไฟล์ PDF & POWERPOINT : SUPPLY CHAIN 4.0 TRANSFORMATION การก้าวผ่านโซ่อุปทานโลจิสติกส์ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี 4.0 สามารถติดตามบทความอื่น ๆ ได้ที่ช่องทาง… Tanit Sorat tanitvsl www.tanitsorat.com หากสนใจ ใส่QR-Code** www.tanitsorat.com