412 244 Data Communication and Computer Networks 3 (3-0-2) * 07/16/96 412 244 Data Communication and Computer Networks 3 (3-0-2) 30 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 Saturday Friday Thursday Wednesday Tuesday Monday Sunday 5. Communication Technology 6. LAN Network 7. Security in Network Instructor : sakda chanprasert E-mail : sakda@kku.ac.th Friday, October 18, 2019Friday, October 18, 2019 *
5. เทคโนโลยีโทรคมนาคม 5.1 Standards : 5.2 Telecommunication Types ISO, IEEE, ANSI, ITU 5.2 Telecommunication Types Telephone, Telegraph, Fax, Satellite, Teleconferencing, Telemedicine, Telex, Friday, October 18, 2019
5. เทคโนโลยีโทรคมนาคม ICT : Information and Communication Technology * 07/16/96 5. เทคโนโลยีโทรคมนาคม สุภาณี เส็งศรี. (2546) ICT : Information and Communication Technology เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีการสื่อสาร รวมถึง เทคโนโลยีโทรคมนาคม (Telecommunication) เป็นเทคโนโลยีเพื่อสื่อสารข้อมูลระยะไกล เทคโนโลยีโทรคมนาคมเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ การรับส่งข้อมูล/สารสนเทศ ถึงผู้รับระยะทางไกลต้องใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคม อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร ตัวกลางในการสื่อสาร (สายสัญญาณคลื่นเสียง ดาวเทียม โทรศัพท์) อุปกรณ์รับส่งข้อมูล (โมเด็ม ซอฟต์แวร์การสื่อสาร) โดยมีมาตรฐานมาในการรับส่งข้อมูล Friday, October 18, 2019 *
5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน * 07/16/96 5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน ทำไมต้องมีระบบมาตรฐาน Worldwide progress in trade liberalization (ระบบการค้าเสรี) Interpenetration of sectors (การแทรกซึมทางการค้าระดับนานาชาติ) Worldwide communications systems (ระบบการสื่อสารไร้พรมแดน เสนอสินค้าที่ดี ราคาถูก) Global standards for emerging technologies (เทคโนโลยีใหม่ๆ ต้องเป็นมาตรฐาน โลก) Developing countries (การพัฒนาประเทศต้องแข่งขันระดับนานาชาติ) Worldwide progress in trade liberalization Today's free-market economies increasingly encourage diverse sources of supply and provide opportunities for expanding markets. On the technology side, fair competition needs to be based on identifiable, clearly defined common references that are recognized from one country to the next, and from one region to the other. An industry-wide standard, internationally recognized, developed by consensus among trading partners, serves as the language of trade. Interpenetration of sectors No industry in today's world can truly claim to be completely independent of components, products, rules of application, etc., that have been developed in other sectors. Bolts are used in aviation and for agricultural machinery; welding plays a role in mechanical and nuclear engineering, and electronic data processing has penetrated all industries. Environmentally friendly products and processes, and recyclable or biodegradable packaging are pervasive concerns. Worldwide communications systems The computer industry offers a good example of technology that needs quickly and progressively to be standardized at a global level. Full compatibility among open systems fosters healthy competition among producers, and offers real options to users since it is a powerful catalyst for innovation, improved productivity and cost-cutting. Global standards for emerging technologies Standardization programmes in completely new fields are now being developed. Such fields include advanced materials, the environment, life sciences, urbanization and construction. In the very early stages of new technology development, applications can be imagined but functional prototypes do not exist. Here, the need for standardization is in defining terminology and accumulating databases of quantitative information. Developing countries Development agencies are increasingly recognizing that a standardization infrastructure is a basic condition for the success of economic policies aimed at achieving sustainable development. Creating such an infrastructure in developing countries is essential for improving productivity, market competitiveness, and export capability. Friday, October 18, 2019 *
5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน การผูกขาดการค้าทางโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคมปัจจุบัน ถือได้ว่ามีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า สามารถใช้เป็นอาวุธในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเทคโนโลยี จำเป็นต้องลงทุนค่าใช้จ่ายจำนวนมาก บริษัทด้านโทรคมนาคมต้องพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อแข่งขัน กลยุทธ์หนึ่งของการแข่งขันคือการผูกขาด ช่วงทศวรรษ 1970 บริษัท AT&T ซึ่งมีสิทธิบัตรทางด้านคอมพิวเตอร์ ในธุรกิจบริการโทรศัพท์ และบริการรับส่งข่าวสาร (ตรงกับ OSI Model ชั้นที่1 จนถึงชั้นที่ 5) เริ่มมาทำการผลิตและจำหน่ายคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ประยุกต์และซอฟต์แวร์ระบบ (เรียกได้ว่าเริ่มล้ำเข้ามาในชั้นที่ 5 และ 6 ) มีอาการเหมือนกับจะผูกขาดทั้งธุรกิจระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเข้าด้วยกัน Friday, October 18, 2019
5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน * 07/16/96 5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน อาการผูกขาดธุรกิจ คอมพิวเตอร์เหมือนกันเชื่อมต่อกันไม่ได้ คอมพิวเตอร์บริษัทเดียวกัน แต่ต่างรุ่น ใช้จอภาพ/คีย์บอร์ด/อุปกรณ์อื่นๆ ทดแทนกันไม่ได้ อุปกรณ์อื่นๆ ของคอมพิวเตอร์ Software (OS, application), data , printer, modem, network peripherals etc. ก็มีลักษณะคล้ายกัน ทั้งๆ ที่ระบบคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคมต่างๆ มีราคาแพง ทำให้เกิดกระแสเรียกร้องจากผู้ใช้ รวมทั้งผู้ประกอบการคอมพิวเตอร์อย่างเดียว ซอฟต์แวร์อย่างเดียว โทรศัพท์อย่างเดียว เกรงว่ายักษ์ใหญ่ AT&T จะใช้นโยบายพี่น้อง อาจกีดกันธุรกิจของผู้อื่น (จนพังพินาศได้) เกิดหน่วยงานกลางเพื่อจัดทำมาตรฐานป้องกันการผูกขาด ไม่ให้เอาเปรียบผู้บริโภค ในช่วงนั้น หน่วยงานสอบสวนกลางด้านธุรกิจ (FTC -Federal Trade Commission) เข้าไปตรวจสอบ AT&T และตัดสิน ให้ผ่า AT&T ออกเป็นบริษัทย่อยๆ ที่เป็นอิสระต่อกัน โดยใช้ผู้บริหารแยกกันอย่างสมบูรณ์ ในวันนี้ FTC กำลังตรวจสอบบริษัทไมโครซอฟต์ เพราะถูกกล่าวหาว่ากำลังทำธุรกิจซอฟต์แวร์แบบที่ส่อเค้าการผูกขาดและกีดกันคู่แข่งอย่างไม่เป็นธรรม เพราะเป็นผู้ที่มีส่วนแบ่งตลาดสูงที่สุดในด้านซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ (โมเดลชั้นที่ 3-5 และบางส่วนของระดับที่ 6) แม้ว่าไมโครซอฟต์จะไม่เล่นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หลัก (เทียบเท่าระดับ 1-3 ในโมเดล) ก็ตาม แต่ในระดับที่ 6 และ 7 (หมายถึงธุรกิจ application softwareต่างๆ) ไมโครซอฟต์เร่งผลิตโปรแกรมด้าน Word processor, Spreadsheet และ Database ออกมาขายจนคู่แข่งแทบจะปิดกิจการ และต้องร้องเรียนกับ FTC ว่าไมโครซอฟต์เล่นไม่ซื่อ อาจจะบอกความลับให้กับฝ่ายพัฒนา application ของตัวเองมากว่าคนทั่วไป ทำให้ผู้อื่นแข่งขันด้วยลำบาก แถมยังขายผลิตภัณฑ์ในราคาที่ต่ำกว่าคู่แข่งอย่างน่าตกใจ Friday, October 18, 2019 *
5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน * 07/16/96 5.1 Standards : เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับมาตรฐาน ปัจจุบัน บริษัท Microsoft กำลังมีพฤติกรรมผูกขาดระบบ NOS ในชั้นที่ 4 ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องใช้ NOS ก็สามารถเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายได้ ซึ่งก็จะทำให้ธุรกิจ NOS ของ NetWare หายไป ในชั้นที่ 7 Microsoft เหมือนกำลังจะผูกขาดโปรแกรมทางด้าน Word Processor, Spreadsheet จะทำให้บริษัทโลตัส บอร์แลนด์ เวิร์ดเพอร์เฟกต์ และอีกหลายๆ รายปิดกิจการ หากไมโครซอฟต์ขายในราคาถูกกว่าคู่แข่งไปตลอด ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี แต่หากคู่แข่งขันเลิกกิจการกันหมด มีผู้ค้ารายเดียว เกิดสภาวะการผูกขาด เหล่านี้ช่วยให้เห็นภาพว่า การผูกขาด เป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ ทุกฝ่ายจะต้องร่วมด้วยช่วยกัน ผู้ผลิต ต้องจัดทำผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน ผู้ใช้ เลือกใช้/สนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน ยิ่งไปกว่านั้น Microsoft Windows for Workgroup (W4WG) และ Windows NT ซึ่งเน้นความสามารถทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ชั้นที่ 2-4 ในโมเดล) ทำให้บริษัทโนเวลล์ผู้ครองตลาด NOS เกิดอาการสะดุ้งไหว ไม่เต็มใจจะให้โปรแกรมส่วนที่ช่วยให้วินโดวส์รุน W4WG มาพ่วงต่อเพราะเกรงว่าจะเป็นการถ่าย(เลือด)ให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่ค่อยๆ ไหลไปอยู่กับ W4WG กันมากขึ้น ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะไมโครซอฟต์มีพฤติกรรมที่อาจตีความได้ว่าประสงค์จะให้ผู้ใช้ W4WG เชื่อมต่อกันได้เป็น LAN ที่สมบูรณ์ได้โดยไม่ต้องอาศัย NetWare อีกต่อไป หากพฤติกรรมเช่นนี้เกิดขึ้นจริงในระดับเครือข่ายบริษัทโนเวลล์คงจะเจ็บตัว ส่วนในระดับ application บริษัทโลตัส บอร์แลนด์ เวิร์ดเพอร์เฟกต์ และอีกหลายๆ รายก็คงจะเจ็บตัว เช่นเดียวกัน อันที่จริงสิ่งที่ไมโครซอฟต์จะทำขึ้น หากขายในราคาถูกกว่าคู่แข่งไปตลอด ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีต่อที่ผู้ซึ้อทุกคน แต่หากคู่แข่งขันของไมโครซอฟต์เลิกกิจการกันหมดแล้ว ไม่มีใครกล้ารับรองว่าการผูกขาดจะเป็นสิ่งดีต่อผู้ซื้อจริง เพราะในตอนนั้น การตั้งราคาอาจจะเปลี่ยนไปได้ แค่นี้ก็คงเพียงพอที่จะให้ท่านผู้อ่านเห็นภาพว่าทำไมจึงมีผู้สนับสนุนโมเดลระบบเปิดกันมากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเปิดช่วยให้ทุกคนมีทางเลือกและป้องกันการผูกขาดนั่นเอง Friday, October 18, 2019 *
5.1 Standards : ISO IEEE ANSI ITU Friday, October 18, 2019 * 07/16/96
5.1 Standards : ISO http://www.iso.ch/ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน, 2545) non-governmental organization จัดตั้งในปี พ.ศ.2490 สำนักงานใหญ่อยู่เจนีวา สวิตเซอร์แลนด์) จุดมุ่งหมายของ ISO เพื่อพัฒนามาตรฐานและก่อให้เกิดความสะดวกในระดับ นานาชาติ เพื่อการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมทั้ง เศรษฐกิจ (all technical field) ISO ดำเนินงานโดยสมาชิก 146 ประเทศ (เมย.46) ร่วมกันประชุมปีละ 2 ครั้ง (ประเทศไทยเป็นสมาชิกในนามสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ของไทย (TISI) กำหนดมาตรฐาน TIS, อเมริกาเป็นสมาชิกในนาม ANSI) ISO's achievements : ISO film speed code, telephone and banking cards, ISO 9000 (quality management and quality assurance), ISO 14000 (environmental management), Paper sizes (ISO216), ISO international codes for country names, currencies and languages, ISO metric screw threads Friday, October 18, 2019
* 07/16/96 5.1 Standards : IEEE IEEE (Institute of Electrical and Electronic Engineers ) เป็นองค์กรที่รวมเอากลุ่มของนักวิชาการและผู้ประกอบการทางสาขาไฟฟ้าและอิเลคทรอนิคส์ มาตรฐานที่ IEEE กำหนดจะเป็นทางด้าน ไมโครโพรเซสเซอร์ ไฟฟ้า และอิเลคทรอนิคส์ มาตรฐานที่นิยมใช้ได้แก่ IEEE 802.3 สำหรับเครือข่ายการสื่อสารเฉพาะถิ่น LAN CSMA/CD หรือ Ethernet เป็นต้น http://standards.ieee.org/ (จะต้องเป็นสมาชิก) Friday, October 18, 2019 มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. (2546). *
5.1 Standards : ANSI http://www.ansi.org/ * 07/16/96 5.1 Standards : ANSI ANSI (American National Standard Institute) สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน, 2545) private, non-profit organization และเป็น membership ของ ISO จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดการแข่งขันด้านธุรกิจ และคุณภาพ เช่นเดียวกับ ISO รวมทั้งด้านการสื่อสารและระบบเครือข่าย อีกทั้งมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ การกำหนดตัวเลขและรหัสทีใช้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูล http://www.ansi.org/ Friday, October 18, 2019 *
5.1 Standards : ANSI ANSI ก่อตั้งในปี 1918 เพื่อกำหนดมาตรฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและมาตรฐานอุตสาหกรรมต่างๆ ยึดหลักการว่า มาตรฐาน จะต้องเป็นความเห็นชอบของผู้ผลิตและผู้ใช้ด้วย พัฒนามาตรฐานของ (กิดานันท์ มลิทอง, 2539 ) ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตัวปรับต่อของอุปกรณ์ต่างๆ อุปกรณ์ทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม กำหนดมาตรฐานการเขียนผังงาน รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ แทนข้อความ Friday, October 18, 2019
5.1 Standards : ITU http://www.itu.int/home/index.html (กิดานันท์ มลิทอง, 2539) สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ องค์กรที่ก่อตั้งโดยชาติต่างๆ เพื่อร่วมกันกำหนดมาตรฐานสำหรับการโทรคมนาคม ITU เป็นองค์กรที่สืบทอดมาจากองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศมีชื่อเต็มว่า คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านโทรศัพท์และโทรเลขระหว่างชาติ (Comite Consultatif International Telephonique et Telegraphique - CCITT) ที่ล้มเลิกไปแล้ว ITU เริ่มก่อตั้งในปี 2408 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถรับ-ส่งโทรเลขในระหว่างประเทศต่างๆ ได้ จนปัจจุบันได้จัดทำมาตรฐานครอบคลุมด้าน Radio Communication (ITU-R) Telecom Standardization (ITU-T) Telecom Development (ITU-D) ปัจจุบันมีสมาชิก 186 ประเทศ (ประเทศไทยเป็นสมาชิกโดยกระทรวง ICT และ กรมไปรษณีย์โทรเลข [2426] ก่อน USA [2451]) มาตรฐาน ITU ใช้กันอย่างกว้างขวาง เช่น ข้อกำหนด V.90 ที่ใช้ในการสื่อสารด้วย Modem สามารถทำให้ Modem จากผู้ผลิตต่างกัน สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ สามารถใช้ทดแทนกันได้ Friday, October 18, 2019
5.1 Standards : ITU http://www.itu.int/itunews/issue/2002/10/indicators.html เปรียบเทียบปริมาณของช่องสัญญาณ Telephone กับ Internet แสดงให้เห็นอัตราการ เพิ่มขึ้นของการใช้งาน ที่แตกต่างกันอย่างมาก Friday, October 18, 2019
Reference กิดานันท์ มลิทอง. 2539. คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต มัลติมีเดีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. จุมพจน์ วนิชกุล. (2546). สารนิเทศโทรคมนาคม. ค้นข้อมูล 16 เมย.46 จาก http://arc.rikc.ac.th/1630101/doc2-5.html ธันวา ศรีประโมง. (2544). ระบบเครือข่ายและการติดต่อสื่อสารข้อมูล. ค้นข้อมูล 9 เมย.46 จาก http://www.cpe.mut.ac.th/~thanwa /EECP0101/EECP0101-08.ppt ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน. (2545). เทคโนโลยีสารสนเทศ ค้นข้อมูล 16 เมย. 2546. จาก http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php สหัส พรหมสิทธิ์. (2541) “แก้การขาดแคลนแบนด์วิดธ์ในเน็ต ด้วย Optical Communication” ค้น ข้อมูล 16 เมย.46 จาก http:// web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/network/optical/optical.html Friday, October 18, 2019
Reference สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2546). โทรคมนาคม (ภาคแรก). ค้นข้อมูล 17 เมย.46 จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK7/chapter9/t7-9-l2.htm สุภาณี เส็งศรี. (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา. ค้นข้อมูล 4 เมย.2546. จาก http://www.edu.nu.ac.th/supanees/366515/teach_ict_1.ppt สุกิจ คูชัยสิทธิ์. (2546). The Internet and Online Resources. ค้นข้อมูล 15 เมย.46 จาก http://sc.bu.ac.th/cgi-bin/viewCourseStudent.cgi?c_id=CS201&from_show=1 Marshall Brain, (2546). How telephone Work. ค้นข้อมูล 16 เมย.2546 จาก http://www.howstuffworks.com/telephone.htm Friday, October 18, 2019
Reference Howstuffwork. a (2003). How medems work. Reteive 17 April 2003. From http://computer.howstuffworks.Com /modem1.htm Howstuffwork. b (2003). How Telephones Work. Reteive 17 April 2003. From http://www.howstuffworks.com /telephone.htm Friday, October 18, 2019