หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบตารางและกราฟแสดงจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบและคะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษา จัดทำโดย นางสาว วนิดา ประจงค์ เลขที่ 49 นางสาว อรุณทิพย์
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3

การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แนวปฏิบัติที่ดีของสถานเวชศาสตร์ชุมชน และเวชศาสตร์ครอบครัว
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
องค์ประกอบสำคัญของแผนจัดการเรียนรู้ 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) 1.1 ความรู้(knowledge) 1.2 ทักษะกระบวนการ(process)
ประเมินผลการจัดกิจกรรม โครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
นางสาวเนตรนภา เอียดสงคราม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Performance Skills By Sompong Punturat.
การสอนควบคู่กับการเรียน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

องค์ประกอบของการประเมินภาคปฏิบัติ ตัวงาน/กิจกรรม เกณฑ์การให้คะแนน 

ธรรมชาติของการประเมินภาคปฏิบัติ กระทำได้ ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม วิธีการประเมิน จะแตกต่างกันตามงาน ที่มอบหมาย วัดได้ทั้งกระบวนการ และผลงาน

ลักษณะของการประเมินภาคปฏิบัติ ประเมินจากผลงาน (Product) สังเกต ชิ้นงาน ประเมินจากกระบวนการ (Process) ขณะกำลังปฏิบัติ ประเมินจากกระบวนการและผลงาน (Product & Process) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลงานจากการปฏิบัติ +

รูปแบบการวัดภาคปฏิบัติ การให้เขียนตอบ (Paper and Pencil Performance Test) 1 เชิงจำแนก (Identification Test) 2 สถานการณ์จำลอง (Simulated Situation Performance)  3 ตัวอย่างงาน (Work Sample) 4

เครื่องมือการประเมินภาคปฏิบัติ ประเภทใช้วัดกระบวนการปฏิบัติงาน เน้นทักษะความสามารถในการทำงาน ประเภทใช้วัดผลงาน เน้นคุณภาพของผลงาน

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เลือกตัวชี้วัดเพื่อสร้างเครื่องมือ กำหนดรูปแบบของเครื่องมือ สร้างเครื่องมือ (ตามขั้น 3) หาคุณภาพของเครื่องมือ จัดพิมพ์เครื่องมือและคู่มือ

ตัวอย่างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ

กรณีที่ 1 ประเมินผลงาน (product) สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.2 ตชว. ป.4/1 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ให้นักเรียนวาดภาพที่มีความหมายในชีวิตจริงอยู่ใน สภาพแวดล้อมใกล้ตัว โดยใช้รูปเรขาคณิตอย่างน้อย 4 ชนิด ขนาดของภาพตามกรอบที่กำหนดให้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง รายการ ใช่ ไม่ใช่ 1. ใช้รูปเรขาคณิตไม่น้อยกว่า 4 ชนิด 2. เป็นภาพที่มีความหมายในชีวิตจริง 3. วาดภาพสำเร็จตามเวลาที่กำหนด เกณฑ์ประเมินการผ่าน ผลงานต้องมีลักษณะทั้ง 3 รายการ

กรณีที่ 2 ประเมินกระบวนการ (process) แบบประเมินการทาบกิ่ง สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีพ มาตรฐาน ว 1.1 ตชว. ป.5/2 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ (การนำความรู้เรื่องการ ขยายพันธุ์พืชไปใช้ประโยชน์) ให้นักเรียนเลือกวัสดุอุปกรณ์ กิ่งพันธุ์ ที่เหมาะสมเพื่อทำ การทาบกิ่งให้ถูกต้องตามลำดับขั้นตอนการขยายพันธุ์พืช ภายในเวลา 1ชั่วโมง แบบประเมินการทาบกิ่ง ชื่อนักเรียน คำชี้แจง : ประเมินโดย  ตัวเลขตามระดับที่ต้องการ จากมาก ที่สุด (5) ถึงน้อยที่สุด (1) 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง 5. ความเรียบร้อยของผลงาน 5 4 3 2 1

กรณีที่ 3 ประเมินกระบวนการและผลงาน (process and product) สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 ตัวชี้วัด ป.3/1 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ให้นักเรียนวัดความยาวของสิ่งของต่อไปนี้โดยเลือกใช้ เครื่องวัดที่กำหนดให้ (ไม้เมตร ไม้บรรทัด สายวัดตัวสาย วัดตลับเมตร) แล้วบันทึกผลลงในตารางที่กำหนดให้ รายการสิ่งของที่วัด เครื่องมือที่ใช้วัด ความยาว 1. ความยาว/สนามเด็กเล่น 2. รอบเอว 3. ปากกา 4. ความยาวหนังสือคณิตศาสตร์ 5. ความยาวกระดานดำ

กรณีที่ 3 (ต่อ) ประเมินโดยสังเกตจากกระบวนการและผลงานของนักเรียน ดังนี้ 1. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของสนามเด็กเล่น  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 2. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของรอบเอว  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของปากกา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 4. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของหนังสือเรียน  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 5. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของกระดานดำ  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 6. ผลการวัดความยาวของสนามเด็กเล่น  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 7. ผลการวัดความยาวของรอบเอว  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 8. ผลการวัดความยาวของปากกา  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 9. ผลการวัดความยาวของหนังสือเรียน  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 10. ผลการวัดความยาวของกระดานดำ  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง เกณฑ์การประเมิน ปฏิบัติได้เหมาะสม /ถูกต้อง 8-10 รายการ ระดับ ดี ปฏิบัติได้เหมาะสม /ถูกต้อง 5-7 รายการ ระดับ พอใช้ ปฏิบัติได้เหมาะสม /ถูกต้อง 0-4 รายการ ระดับ ปรับปรุง เกณฑ์ตัดสิน การผ่านต้องได้ระดับพอใช้หรือดี

สรุปแนวทางในการพิจารณาเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ  รูปแบบเครื่องมือเหมาะสมกับลักษณะที่ประเมิน (ผลงาน/กระบวนการ/ผลงาน+กระบวนการ)  เรื่องที่ประเมินสอดคล้องกับตัวชี้วัด  ประเด็นการประเมินสอดคล้องและครอบคลุมเรื่องที่ประเมิน  ประเด็นการประเมินเป็นพฤติกรรมที่มองเห็นได้ชัดเจน  เกณฑ์การให้คะแนนเหมาะสม