การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

เลือกหน่วยงาน องค์การ สถาบัน
Location Problem.
Storage and Warehouse.
สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
เอกสารเรียนวันที่ 17 มกราคม 2555 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
เอกสารเรียนวันที่ 12 กรกฎาคม 2556 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
Being Excellent the whole Value Chain
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
Facility Location Single facility –Weighted scoring (Location factor rating) –Center of gravity model –Load-distance model (cost-based model) –Break even.
Sheet Ac 313 การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิต
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
การจัดซื้ออะไหล่ และการจ้างงานซ่อมบำรุง
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
Lecture บทที่ 5 การจัดการคลังสินค้า และการกระจายสินค้า
การจัดการเชิงกลยุทธ์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Road to the Future - Future is Now
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ฝ่ายประเมินผลงาน
มลพิษทางดิน (Soil Pollution or land Pollution)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
- Introduction (punya)
แผนการตลาด Marketing Plan.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
วิธีการเขียน Business Model Canvas
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
การคิดราคาขาย การลดต้นทุน และการวางแผนจัดนำเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งและการวางผังกิจการ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
ใบงานกลุ่มย่อย.
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน บทที่ 4 การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ความหมายของทำเลที่ตั้ง สถานที่ดำเนินการผลิตสินค้าตามความต้องการของผู้บริโภค และสามารถประกอบกิจกรรมได้สะดวกที่สุด โดยคำนึงถึงกำไร ค่าใช้จ่าย ความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสัมพันธ์กับพนักงาน และสภาพแวดล้อมจากภายนอกอื่นๆ การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ทำเลที่ตั้ง(Location) มีบทบาทต่อการออกแบบระบบการผลิต ต้นทุนการตั้งราคา และการดำเนินกิจการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการเลือกทำเลที่ตั้งจึงต้องพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบและมีขั้นตอนในการตัดสินใจ

ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง แหล่งวัตถุดิบ(Raw material resource) น้ำหนักไม่เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โรงงานควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ น้ำหนักลดลงหรือเปลี่ยนแปลงไปมาก โรงงานควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ เมื่อวัตถุดิบมีอยู่ทั่วไป โรงงานควรอยู่ใกล้ตลาด เมื่อวัตถุดิบเป็นของเน่าเสียง่าย โรงงานควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ

ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง(ต่อ) แหล่งแรงงาน(Labor) นโยบายการจ้างแรงงาน จำนวนแรงงาน ระดับความรู้ความสามารถ ทัศนคติของบุคคลในท้องถิ่น ที่ตั้งของตลาดหรือแหล่งจำหน่าย(Location of markets) แนวโน้มรายได้ประชากร จำนวนประชากร คุณสมบัติของลูกค้า แนวโน้มเกี่ยวกับยอดขาย ตลาดอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง คู่แข่งขัน

ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง(ต่อ) ที่ดิน(Land) ราคาที่ดิน ลักษณะที่ดิน การส่งเสริมการลงทุน(Investment Promotion) การขนส่ง(Transportation) ความสะดวกรวดเร็ว ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ความปลอดภัย จุดหมายปลายทางของการขนส่ง ช่วงระหว่างแหล่งวัตถุดิบกับโรงงาน ช่วงระหว่างโรงงานกับตลาด

ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง(ต่อ) พลังงาน(Energy) สาธารณูปโภค(Public service) Pollution Social Responsibility นโยบายรัฐบาล(Policies of government ) ภาษีการค้า ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีที่ดิน และภาษีอื่นๆ

การวิเคราะห์ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน ประกอบด้วย 5 วิธี วิธีให้คะแนน(Rating Plan) วิธีเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย(Cost Comparison ) วิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของทำเลที่ตั้ง(Location BEP analysis) วิธีเปรียบเทียบระยะทาง(Distance Comparison) วิธีการวิเคราะห์ด้วยตัวแบบการขนส่ง(Transportation Model)

วิธีให้คะแนน(Rating Plan) : ชั่ง น.น. ปัจจัย

วิธีเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย(Cost Comparison )

มูลค่าปัจจุบัน (Present Value) : Hypothesis สมมติฐาน - โรงงานอายุการใช้งาน 10 ปี อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดใน อนาคต 10%

ทำเล ข ดีที่สุด เพราะเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 17,128 (พันบาท) สรุป ทำเล ข ดีที่สุด เพราะเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 17,128 (พันบาท)

วิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของทำเลที่ตั้ง(Location BEP analysis)

สร้างเส้นกราฟ ของแต่ละทำเล

สร้างเส้นรายได้

วิธีเปรียบเทียบระยะทาง (Distance Comparison) Raw material resource Location Market

วิธีการ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งวัตถุดิบ ตลาด และค่าขนส่ง รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งวัตถุดิบ ตลาด และค่าขนส่ง กำหนดทำเลที่ชอบ 2 – 3 จุด ลากเส้นเชื่อมระหว่างแหล่งวัตถุดิบ ทำเลที่เลือก และตลาด คำนวณระยะทาง และค่าขนส่งรวมแต่ละทำเลที่ตั้ง ตัดสินใจเลือกทำเลที่ค่าขนส่งตำสุด

ตัวอย่างที่ 4.2 เลือกทำเลที่ตั้ง มีแหล่งวัตถุดิบ 1 แหล่ง ตลาดจำหน่าย 3 แหล่ง ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง กิโลเมตรละ 16 บาท

วิธีการคำนวน รวบรวมข้อมูล กำหนดทำเลที่ชอบ ลากเส้นตรงเชื่อม (ระหว่างแหล่งวัตถุดิบทำเลที่เลือกและตลาด)

คำนวณทำเล ก. ระยะทาง = = = 4.12 = 3 = 9 = 8.60 โดยการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ คำนวณทำเล ก. : ทำเล ก. ตั้งอยู่ตำแหน่ง 2, 6 ระยะทางจากแหล่งวัตถุดิบ ถึงทำเล ก. = = = 4.12 ระยะทางจาก ทำเล ก. ถึงตลาด 1 = = = = 3 ระยะทางจาก ทำเล ก. ถึงตลาด 2 = = = 9 ระยะทางจาก ทำเล ก. ถึงตลาด 3 = = = 8.60 รวมระยะทาง = 4.12 + 3 + 9 + 8.60 =24.72 x 100 = 2,472 กิโลเมตร ค่าขนส่งรวมกิโลเมตรละ 16 บาท ดังนั้น ถ้า 2,472 กิโลเมตร = 2472 x 16 = 39,552 บาท

ตัดสินใจเลือกทำเลที่มีค่าขนส่งต่ำสุด เลือกทำเล ค.(27,888 บาท)

การพิจารณาจากเส้นทางจริง

พื้นที่ (x, y) (ก.ม.) จำนวนประชากร A (4, 7) 10 B (5, 6) 7 C (11, 4) 16 D (3, 5) 9 E (14, 6) 22 F (9, 3) 4 รวม 68 ตัวอย่างที่ 4.3 ให้พิจารณาเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดในการดำเนินงานโดยพิจารณาจากระยะทางและจำนวนประชากร และคำนวณระยะทางจากจุดพื้นที่ A ไปยังพื้นที่ B ดังตารางข้อมูลของแต่ละพื้นที่ที่เหมาะสมในการดำเนินงาน

เราสามารถคำนวณระยะทางจากจุดพื้นที่ A ไปยังจุดพื้นที่ B ได้ดังนี้ เราสามารถคำนวณระยะทางจากจุดพื้นที่ A ไปยังจุดพื้นที่ B ได้ดังนี้ สูตรการคำนวณหาระยะทางจากจุด A ไปยัง จุด B Din = = = = 1.41 กิโลเมตร

พื้นที่ (x, y) (ก.ม.) จำนวนประชากร เลือกพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดในการดำเนินงานโดยพิจารณาจากระยะทางและจำนวนประชากรดังตาราง พื้นที่ (x, y) (ก.ม.) จำนวนประชากร A (4, 7) 10 B (5, 6) 7 C (11, 4) 16 D (3, 5) 9 E (14, 6) 22 F (9, 3) 4 รวม 68 LXI LYI 40 70 35 42 176 64 27 45 308 132 36 12 622 365

ให้คำนวณหาพื้นที่ที่มีศักยภาพที่เหมาะสม สูตรการคำนวณ x* = = X* = 9.15 สูตรการคำนวณ y* = = y* = 5.37 เลือกพื้นที่ที่ใกล้เคียง x = 9.15 และ y = 5.37 คือ (9.15, 5.37) จุด F = (9, 3) หรือ จุด C = (11, 4)

วิธีการวิเคราะห์ด้วยตัวแบบการขนส่ง(Transportation Model) กรณีที่ 1 โรงงานแห่ลงเดียวมีทำเลให้เลือกไม่จำกัด กรณีที่ 2 โรงงานหลายแห่ลงเดียวมีทำเลให้เลือกไม่จำกัด กรณีที่ 3 โรงงานหลายแหล่งโดยมีทำเลให้เลือกจำกัด

ตัวอย่างที่ 4. 5 โรงงาน มี 2 แห่ง มีตลาดสินค้า 2 แห่ง. 1. เมือง ก ตัวอย่างที่ 4.5 โรงงาน มี 2 แห่ง มีตลาดสินค้า 2 แห่ง 1. เมือง ก. ผลิต 200 หน่วย 2. เมือง ข. ผลิต 100 หน่วย ความต้องการของตลาดเพิ่มขึ้น 100 หน่วย ต้องการสร้าง โรงงาน แห่งที่ 3 ที่เมือง ค. หรือ ง. ค่าขนส่ง จาก ไป อัตราค่าขนส่ง โรงงาน ก. ตลาดสินค้าแห่งที่ 1 1 บาทต่อหน่วย โรงงาน ก. ตลาดสินค้าแห่งที่ 2 2 บาทต่อหน่วย โรงงาน ข. ตลาดสินค้าแห่งที่ 1 2 บาทต่อหน่วย โรงงาน ข. ตลาดสินค้าแห่งที่ 2 3 บาทต่อหน่วย โรงงาน ค. ตลาดสินค้าแห่งที่ 1 3 บาทต่อหน่วย โรงงาน ค. ตลาดสินค้าแห่งที่ 2 5 บาทต่อหน่วย โรงงาน ง. ตลาดสินค้าแห่งที่ 1 4 บาทต่อหน่วย โรงงาน ง. ตลาดสินค้าแห่งที่ 2 1 บาทต่อหน่วย

การวิเคราะห์ตัวแบบการขนส่ง มี 3 ขั้นตอน การวิเคราะห์ตัวแบบการขนส่ง มี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 คำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. ขั้นตอนที่ 2 คำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. ขั้นตอนที่ 3 นำผลการคำนวณมาเปรียบเทียบ

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 200 _ ข 100 ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก _ 200 ข 100 ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5

สรุป.ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมืองค.ประกอบด้วย สรุป.ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมืองค.ประกอบด้วย (200*1 ) + ( 100*3 ) + (100*5) = 1,000 (200*2 ) + ( 100*2 ) + (100*3) = 900 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*3 ) + (100*3) = 900 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*2 ) + (100*5) = 1,000

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 200 _ ข 100 ง รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 1 4

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก _ 200 ข 100 ง รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 4 1

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ง รวมจำนวน ที่ต้องการ 400 1 2 2 3 4 1

วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ง รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 4 1

สรุป ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.ประกอบด้วย สรุป ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.ประกอบด้วย (200*1 ) + ( 100*3 ) + (100*1) = 600 (200*2 ) + ( 100*2 ) + (100*4) = 1,000 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*3 ) + (100*4) = 1,000 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*2 ) + (100*1) = 600

ต้องการเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. ต้องการเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. เนื่องจากมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำที่สุด = 600 บาท

บทที่ 4 จบแล้วจ้า