แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี นางนงเยาว์ กัลยาลักษณ์ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
เป้าประสงค์ เพื่อให้ครูนิเทศมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ ประสบการณ์ และเจตคติที่ดีต่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
สาระสำคัญ ความสำคัญของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีต่อการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาระบบทวิ ภาคี การวางแผนกำลังคนของสถาน ประกอบการ 04/06/59
แนวคิดการจัดกิจกรรม บรรยายให้ความรู้ การอภิปรายกลุ่มย่อย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน 04/06/59
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในเยอรมนี Company Part-time vocational school
การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 04/06/59
การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คือ การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษา หรือสถาบันกับสถานประกอบการในเรื่อง การจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดการฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผล 04/06/59
การจัดการเรียนการสอนผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่ง เรียนในสถานศึกษาหรือสถาบัน เรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในไทย DVE 2556 - หลักสูตร ปวช. 2556 มีกลุ่ม รายวิชาระบบ ทวิ ภาคี - หลักสูตรเทคโนโลยี บัณฑิต พ.ศ. 2556 เน้นการศึกษา ระบบทวิภาคี 2551 พ.ร.บ.อาชีวศึกษา 2551 ม.8 กำหนดเป็นรูปแบบ การศึกษา ระบบทวิภาคี 2545-2550 หลักสูตร ปวช.45 และ ปวส.46 “ฝึกงาน อย่างน้อย ครึ่ง หลักสูตร” 2538-2544 หลักสูตร 2538 เริ่มใช้ คำว่า “ระบบ ทวิภาคี” 2527-2537 “ช่างชำนาญการ ” ไม่มีวุฒิ ปวช.” 2527 2537 2547 2556 04/06/59
การเริ่มต้นการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ปวส.+ สัญญาการฝึกอาชีพ การเข้าเรียน และการสำเร็จการศึกษา สถานประกอบการ ผู้บริหารระดับกลาง DVE ปริญญาตรี สถานประกอบการ 2 ปี ระดับช่างชำนาญการ DVE ปวส. ปวส.+ สัญญาการฝึกอาชีพ สถานประกอบการ 2 ปี ระดับแรงงานฝีมือ ปวช. + สัญญาการฝึกอาชีพ DVE ปวช. ม.6 (เกรด 12) + สัญญาการฝึกอาชีพ 3 ปี ม.3 (เกรด 9) + สัญญาการฝึกอาชีพ
แนวคิดและหลักการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สรุปองค์ความรู้ แนวคิดและหลักการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 04/06/59