หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
ไนโตรเจน (เอ็น)
46-0-0 16-20-0 18-46-0 0-0-60
ไนโตรเจน จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และผลผลิต การเจริญของราก การแตกกอ การสร้างลำ และใบ
ไนโตรเจน การเจริญของลำ (สร้างปล้อง ยืดปล้อง) เพิ่มขนาดและน้ำหนักลำ
เอ็น สูงเกินไป อายุยาวขึ้น การสุกแก่ช้าลง เพิ่ม reducing sugar ต้นล้ม อ่อนแอต่อโรค และแมลง
ฟอสฟอรัส
46-0-0 16-20-0 18-46-0 0-0-60
ฟอสฟอรัส การเจริญของราก การแตกกอและสร้างหน่อ หน่อขนาดใหญ่ รอดเป็นลำเยอะ ตั้งตัวและแตกทรงพุ่มเร็ว ช่วยยืดปล้อง
กระบวนการแบ่งเซลล์ สร้างหน่อ ขาด พี การแตกกอลดลง การแตกทรงพุ่มล่าช้า การยืดปล้องลดลง ในข้าวที่ขาดพี รวงจะเล็ก การผสมติดต่ำ จำนวนเมล็ดต่อรวงลดลง กระบวนการแบ่งเซลล์ สร้างหน่อ ผ่านแล้วผ่านเลย
การแตกกอ เริ่ม 40 วัน หลังปลูกถึง 120 วัน จำนวนหน่อมากที่สุด 90-120 วัน ที่ 150-180 วัน จำนวนหน่อคงที่ (หน่อตายอย่างน้อย 50 %)
โพแทสเซียม
46-0-0 16-20-0 18-46-0 0-0-60
โพแทสเซียม ช่วยในการสร้างน้ำตาล เคลื่อนย้ายน้ำตาลไปลำต้น เพิ่มขนาดลำ เพิ่มน้ำหนักผลผลิต และความหวาน ช่วยให้ทนแล้ง ทนเค็ม ต้านทานโรค
เคช่วยในการสร้าง สะสมแป้งและน้ำตาล เพิ่มน้ำหนัก และต้านทานโรค
ใส่ปุ๋ยต้องใส่ให้ถูกสูตร เอ็น พี เค ครบ พืชแข็งแรง ผลผลิตสูง คุณภาพดี
ใส่ให้ทันกับความต้องการ ถูกเวลา ใส่ให้ทันกับความต้องการ ประสิทธิภาพสูงสุด
แบ่งใส่ 2 ครั้งเท่าๆ กัน พร้อมปลูกและ เอ็น สำคัญต่อการเจริญเติบโต ต้องการมาก ระยะแตกกอถึงอายุ 6 เดือน สูญเสียไปกับน้ำได้ง่าย แบ่งใส่ 2 ครั้งเท่าๆ กัน พร้อมปลูกและ ช่วงอายุ 2-3 เดือน
พี กระตุ้นการสร้างราก การตั้งตัว การแตกกอ การยืดปล้อง พืชค่อย ๆ ดูดไปสะสมในลำต้น และใบก่อนนำไปใช้ เคลื่อนย้ายได้น้อย สะสมในดิน
ปุ๋ย พี ต้องใส่รองพื้นพร้อมปลูกทั้งหมด โรยเป็นแถบรองก้นร่อง (ฝังลงดินให้ได้) โรยเป็นแถบรองก้นร่อง
ใส่รองพื้นพร้อมปลูกหรือแบ่งใส่ 2 ครั้ง พร้อมปลูกและช่วงอายุ 2-3 เดือน เค สะสมน้ำหนัก และความหวาน ช่วยขนส่งน้ำและอาหาร พืชต้องการมาก สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง ใส่รองพื้นพร้อมปลูกหรือแบ่งใส่ 2 ครั้ง พร้อมปลูกและช่วงอายุ 2-3 เดือน
อ้อย : ใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ปุ๋ยรองพื้น พร้อมปลูก หรือพร้อมกับตัดราก ครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอ อายุ 2-3 เดือน
อ้อยปลูก ครั้งที่ 1 รองพื้นพร้อมปลูก โรยก้นร่อง ครั้งที่ 2 อายุ 3 เดือน เมื่อเริ่มย่างปล้อง โรยข้าวแถวอ้อยแล้วพรวนกลบ
อ้อยตอ ครั้งที่ 1 โรยปุ๋ยพร้อมตัดราก ครั้งที่ 2 อายุ 3 เดือน เมื่อเริ่มย่างปล้อง โรยข้างแถวอ้อยแล้วพรวนกลบ
ใส่ปุ๋ยอ้อยตอทันทีหลังเก็บเกี่ยว
.ใส่หลังฝนตกเดือนมีนาคม
ถูกวิธี ใส่แล้วต้องกลบ หรือฝังลงดิน
การเคลื่อนย้ายในดิน เอ็น : กลบ หรือหว่านบนผิวดินที่แฉะ พี เค เอ็น : กลบ หรือหว่านบนผิวดินที่แฉะ พี : โรยเป็นแถบรองพื้น หรือคลุกลงดิน เค : รองพื้น หรือคลุกลงดิน ป๋ย เอ็น จะละลายเคลื่อนไปกับน้ำ แต่ พี ละลายแล้วเคลื่อนย้ายในดินได้เพียง 1 นิ้ว จากจุดใส่ปุ๋ย เพราะจะถูกดินตรึงเอาไว้ ส่วน เค เคลื่อนย้ายได้มากกว่า พี
ใส่ให้พอเพียงกับความต้องการ ปุ๋ยไม่ถึง ผลผลิตไม่เพิ่ม ถูกปริมาณ ใส่ให้พอเพียงกับความต้องการ ปุ๋ยไม่ถึง ผลผลิตไม่เพิ่ม ใส่ปุ๋ยให้พอ ผลผลิตถึงจะเพิ่ม ใส่ปุ๋ยครบ แต่ปริมาณไม่เพียงพอ ดีดผลผลิตไม่ขึ้น
ปุ๋ยเป็นตัวจำกัดผลผลิต !! เพราะขาดปุ๋ยตัวใดตัวหนึ่งไป ผลผลิตไม่เต็มร้อย ปุ๋ยตัวอื่นทดแทนไม่ได้
ธาตุอาหารครบ เอ็น พี เค เอ็น พี เค ใส่ปุ๋ยเหมือนตักน้ำใส่ถัง ใส่ปุ๋ยครบเหมือนถังไม่รั่ว ได้ผลผลิตดี น้ำเต็มถัง
ขาดเอ็น แต่ปุ๋ยพี และเค เพียงพอ ผลผลิตต่ำ เพราะต้นเล็ก แคระแกรน เหมือนถังรั่วก้นถัง ใส่น้ำได้น้อย เอ็นสำคัญมาก ขาดไม่ได้ เอ็น พี เค
เอ็น พี เค ปุ๋ยเอ็น และเค เพียงพอ แต่ขาดพี ผลผลิตไม่เต็มที่ เพราะการแตกกอไม่ดี รวงหรือฝักมีขนาดเล็ก เมล็ดไม่เต็มฝัก
เอ็น พี เค ปุ๋ยเอ็น และพี เพียงพอ แต่ขาดเค ผลผลิตไม่เต็มที่ เพราะเมล็ดลีบ ขาดน้ำหนัก
อ้อยปลูก เอ็น 18 พี 9 เค 18 กก/ไร่ ครั้งที่ 1 ใส่ 46-0-0 อัตรา 12 กก./ไร่ 18-46-0 อัตรา 20 กก./ไร่ 0-0-60 อัตรา 15 กก./ไร่ ครั้งที่ 2 ใส่ 46-0-0 อัตรา 20 กก./ไร่ 0-0-60 อัตรา 15 กก./ไร่
อ้อยตอ เอ็น 24 พี 12 เค 24 กก/ไร่ ครั้งที่ 1 ใส่ 46-0-0 อัตรา 16 กก./ไร่ 18-46-0 อัตรา 20 กก./ไร่ 0-0-60 อัตรา 20 กก./ไร่ ครั้งที่ 2 ใส่ 46-0-0 อัตรา 26 กก./ไร่ 0-0-60 อัตรา 20 กก./ไร่
การขยายผล