แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
Advertisements

นางสาว นิธิวดี มานิตกุล
Ambassador Jan Palmstierna, Head of Swedish Business Delegations,
ศูนย์ปฏิบัติการร่วม (Regional Operation Center : ROC)
การให้ความร่วมมือทางวิชาการ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน กระทรวงการต่างประเทศ
มอง.....กัมพูชา โอกาสทั้งนั้น
จีนกับเศรษฐกิจเปิด เริ่ม 2521
Chalida Walaijai class 6/1.  รุ่นซีพียู Intel Core i7 ขนาดจอภาพ 15.6 นิ้ว  ความถี่ซีพียู 2 GHz ความละเอียด 1366x768  ฮาร์ดดิสก์ 750 GB (5400rpm) หน่วยความจำ.
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ประเทศไทยในสังคมโลก วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 12 ตุลาคม 2549.
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
สถานที่ตั้ง : อาคาร 8 (อาคารราชประชาสมาสัย) ชั้น 1
ASEAN-China FTA.
Investment opportunities in Cambodia
1 Utilization of New Trade Lanes in CLM : Synchronization of Practices and Regulations Dr.Tanit Sorat Vice Chairman of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
การเปิดประตูการค้าแห่งใหม่ ระหว่างไทยกับอินเดีย. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ Cambodia Vietnam Laos China India Malaysia Indonesia Singapore Brunei.
ผังพื้นที่บริการ สิ่งอำนวยความสะดวก ท่าเรือระนอง
ระบบการติดตั้งมาตรวัดน้ำใหม่
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
โดย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะ.
กระทรวงสาธารณสุข และอาเซียน
SPECTRUM TREND AND MOBILE BROADBAND DEVELOPMENT IN ASEAN Spectrum Management Bureau, Office of NBTC สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
การบรรยาย “ การพัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการ ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ” วันพุธที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา – น. ณ ห้องประชุมพิพิธสมบัติ ชั้น 6 อาคารสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ ในเวทีการเงินโลกที่มีผลกับประเทศไทย
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ASEAN Becomes Single Market
มาตรการสร้าง SME ไทยเข้มแข็ง เพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกระบวนการนำเข้า-ส่งออก สินค้า บรรยายโดย คุณพัชรดิษฐ์ สินสวัสดิ์ กรรมการ สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย.
“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา
Blue Ocean Economy เศรษฐกิจสีคราม : ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล บรรยายให้กับ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องทะเลครั้งที่ 3 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
FTA.
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
รายงานความก้าวหน้า งานบริหารและธุรการ
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
หลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Sourcebook)
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ประเทศบรูไน.
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
ดื่มด่ำ..กับความสุข..ชั้นบรรยากาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) นายรณรงค์ เทพรักษ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและประเมินผล นายเกรียงไกร ปัญญาพงศธร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ www.nesdb.go.th

ขอบเขตการนำเสนอ 1.สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศไทย 2.กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนา ภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11

1. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อการพัฒนาประเทศไทย 4. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน 1.กฎ กติกาใหม่ของโลกหลายด้านส่งผลให้ทุกประเทศต้องปรับตัว 5.ปัญหาความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโน้มจะเป็นปัญหาสำคัญ 2.การปรับตัวสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง รวมทั้งภูมิภาค 6.ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 3.การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลกอย่างต่อเนื่อง 7.การก่อการร้ายสากลเป็นภัยคุกคามของโลก

6 ความเสี่ยงของประเทศไทย 1. การบริหารภาครัฐอ่อนแอ การบริหารขาดประสิทธิภาพ ความโปร่งใส ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาค ประชาชนและระหว่างประชาชนกับประชาชนใน บางพื้นที่มีช่องว่างมากขึ้น 2. โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับ การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน โครงสร้างเศรษฐกิจพึ่งภาคอุตสาหกรรมในสัดส่วนสูง ทำให้เศรษฐกิจไทยอ่อนไหวต่อความผันผวนของเศรษฐกิจโลก การขยายตัวทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับปัจจัยการผลิตดั้งเดิมโดยเฉพาะทุน และแรงงานราคาถูกที่มีผลผลิตต่ำ เป็นอุปสรรคเรื่องความสามารถการแข่งขัน ความต้องการพลังงานของไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่พึ่งพิงพลังงานต่างประเทศ

6 ความเสี่ยงของประเทศไทย 3. โครงสร้างประชากรที่มีวัย สูงอายุมากขึ้น วัยเด็ก และวัย แรงงานลดลง ส่งผลให้การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจในอนาคตต้องชะลอตัวลง ภาครัฐและครัวเรือนจะมีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 4. ค่านิยมที่ดีงามของไทยเสื่อมถอย คนไทยให้ความสำคัญกับ ศีลธรรมและวัฒนธรรมที่ดีงามลดลง กระแสโลกาภิวัตน์และวัฒนธรรม โลก ส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทยทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศ

6 ความเสี่ยงของประเทศไทย 5. ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพ แวดล้อมของประเทศมีแนวโน้มเสื่อม โทรมรุนแรง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศส่งผลให้ สถานการณ์ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำ รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคที่ฟุ่มเฟือยทั้งในภาคประชาชนและภาคการผลิต เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้การพัฒนาไม่ยั่งยืน 6. ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงด้านความมั่นคง ได้แก่ ปัญหาความไม่สงบในประเทศ ปัญหาการก่อการร้าย วิกฤตเศรษฐกิจ และภัยพิบัติต่างๆ

5.ภูมิคุ้มกันของประเทศไทย 1.ประเทศไทยมีการ ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันหลักที่ยึดโยงคนในชาติให้เกาะเกี่ยวแน่นแฟ้น พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นแบบอย่างของการดำรงชีวิตของคน ในสังคม

5 ภูมิคุ้มกันของประเทศไทย 2. การพัฒนาประเทศให้อยู่บนพื้นความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย  การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญในการพัฒนา ประเทศ ในการปรับเปลี่ยนการผลิตจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุน และแรงงานที่มีผลิตภาพต่ำ ไปสู่การใช้ความรู้และความชำนาญด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม แม้สิ่งดีๆ จะหายไปบ้างแต่สังคม ไทยก็ยังมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงามหลงเหลือและยังคงถ่ายทอดมาถึงคนรุ่นนี้ ได้แก่ การมีกิริยามารยาท การ ช่วยเหลือ น้ำใจไมตรี และการมีสัมมา คารวะ เป็นต้น

5 ภูมิคุ้มกันของประเทศไทย 4. ประเทศไทยมีภาคการเกษตรเป็นฐาน สร้างรายได้และความ มั่นคงด้านอาหารของประเทศ ภาคการเกษตรเป็นแหล่งอาหารหลักของประเทศ เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง 5. ชุมชนเป็นกลไกที่มีความ สามารถในการบริหารจัดการ มี ส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและเชื่อมโยงกันเป็นสังคม สวัสดิการ ชุมชนเข้มแข็งจะเป็นพลังหลักในการพัฒนารากฐานของประเทศ ชุมชนที่พึ่งตนเองได้ จะสามารถบรรเทาปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภายใต้แผน ๑๑ ความเสี่ยงที่ประเทศไทย ต้องเผชิญ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความ เสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” ๖ ยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับการเจริญ เติบโตอย่างยั่งยืน การบริหารภาครัฐอ่อนแอ ๑ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน โครงสร้างประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็ก วัยแรงงานลดลง มีความเสี่ยงด้านความมั่นคง พันธกิจ ๖ ความเสี่ยง สร้างสังคมเป็นธรรม ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต พัฒนาคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะและการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพบนฐานความรู้และการสร้างสรรค์ของคนไทย สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓ ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ฐานทรัพยากรธรรมชาติสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมรุนแรง ๔ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ สู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ ค่านิยมดีงามของไทยเสื่อมถอย ๕ ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงใน ภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้าง ๕ ภูมิคุ้มกันให้ประเทศพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง ๖ ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ๕ ภูมิคุ้มกัน เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ  ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข การพัฒนาประเทศให้อยู่บนฐานความรู้ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี งาม ภาคเกษตรเป็นฐานรายได้หลักและความ มั่นคงด้านอาหารของประเทศ ชุมชนเป็นกลไกที่มีความสามารถในการ บริหารจัดการ ความอยู่เย็นเป็นสุขของคนในสังคมและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ลดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะที่ดีขึ้น และสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข้งมากขึ้น เศรษฐกิจเติบโตเฉลี่ยร้อยละ ๕ ต่อปี อัตราเงินเฟ้ออยู่ในกรอบเป้าหมาย ผลิตภาพการผลิตรวมสูงขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓ ต่อปี คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข ดัชนีความสงบสุข สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มประชากร จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทย อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราเงิน เฟ้อ ผลิตภาพการผลิตรวม www.nesdb.go.th 10

1. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 4 เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และสังคมให้ทุกคนในสังคมไทย 2 การจัดบริการทางสังคม ให้ทุกคนตามสิทธิพึงมีพึงได้ 3 การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วน www.nesdb.go.th 11

2.1 ปรับโครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม 2.ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 2.1 ปรับโครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม 2.2 พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง 2.3 ส่งเสริมการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม 2.4 ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.5 ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม www.nesdb.go.th 12

3. ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน 1 พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตร 2 เพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร 3 สร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต สร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร 4 5 สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาพลังงานชีวภาพในระดับครัวเรือนและชุมชน 6 สร้างความมั่นคงด้านพลังงานชีวภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเข้มแข็งภาคเกษตร 7 ปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและ พลังงาน www.nesdb.go.th 13

4.1 ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน 4. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ 4.1 ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน 4.2 พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 4.3 พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพ เท่าเทียม และเป็นธรรม 4.4 การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีเสถียรภาพ www.nesdb.go.th 14

สร้างอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 5. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน จุดเน้นของยุทธศาสตร์ “ให้ความสำคัญกับ 3 วง ของกรอบความร่วมมือ” รวมทั้งประเด็นการพัฒนา ร่วมและปัจจัยสนับสนุน อนุภูมิภาค (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC) อาเซียน (ASEAN) อาเซียน+3, อาเซียน+6, เอเปค, และอื่นๆ 1 2 3 10 แนว ทาง การ พัฒนา กรอบอนุภูมิภาค อาเซียน อาเซียน+เอเปค ปัจจัยสนับสนุน 5.1 พัฒนาความเชื่อมโยงการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ 5.2 พัฒนาฐานการลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 5.3 สร้างความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 5.4 เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศและภูมิภาคอย่างสร้างสรรค์ 5.10 ปรับปรุงและสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาในท้องถิ่น ประเด็น ร่วม 5.5 สร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์/เคลื่อนย้ายแรงงาน/ส่งเสริมแรงงานไทยใน ตปท. 5.6 การมีส่วนร่วมในการสร้างสังคมนานาชาติที่มีคุณภาพชีวิต ป้องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัติ และการแพร่ระบาดของโรคภัย 5.7 เสริมสร้างความร่วมมือที่ดีในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมี จริยธรรมไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 5.8 การเร่งรัดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้แล้ว 5.9 การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการลงทุน และการประกอบธุรกิจในเอเชียรวมทั้งเป็นฐานความร่วมมือในการพัฒนาภูมิภาค www.nesdb.go.th

6.ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 2 การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1. การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการคุ้มครอง ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ และเขตอนุรักษ์ พัฒนาระบบ ฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการจัดการองค์ความรู้ ปรับปรุงการบริหารจัดการที่ดินทั้งระบบ กระจายการถือครองที่ดินให้เกิดความเป็นธรรม เร่งรัดพัฒนาและ ฟื้นฟูคุณภาพดิน วางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เร่งรัดการบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ พัฒนาปรับปรุงและฟื้นฟูแหล่งน้ำ พัฒนาและส่งเสริม ให้เกิดการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคอย่างเป็นระบบ และ ส่งเสริมการอนุรักษ์ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ และแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม 2. การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการปรับโครงสร้างการผลิต ของประเทศสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคขนส่ง เพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก พัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมเน้นการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม ระบบนิเวศเข้าด้วยกัน และปรับพฤติกรรมการบริโภคสู่สังคมคาร์บอนต่ำที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. การยกระดับขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้สังคมมีภูมิคุ้มกัน โดยพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบ และ การปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พัฒนาเครื่องมือในการบริหารจัดการเพื่อรับมือกับความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพัฒนาศักยภาพ ชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. เตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยจัดทำแผนที่เพื่อบ่งชี้พื้นที่เสี่ยงภัยทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาคและจังหวัด และจัดลำดับความเสี่ยงพื้นที่เสี่ยง พัฒนายกระดับการจัดการภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับแนวโน้มการเกิดภัยพิบัติที่รุนแรงในอนาคต พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม ส่งเสริม การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านการจัดการภัยพิบัติ วางระบบเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของภาคส่วนต่างๆ พัฒนาระบบงานอาสาสมัครของประเทศอย่างจริงจัง และมีมาตรฐานตามหลักสากล และสนับสนุนภาคเอกชน สถานประกอบการ โรงเรียน และท้องถิ่น 5. สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤติภาวะโลกร้อน โดยติดตามและเฝ้าระวังมาตรการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อการค้า และการลงทุน เตรียมมาตรการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากมาตรการทางการค้าและข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ศึกษาผลกระทบ และกำหนดแผนกลยุทธ์รายสินค้า รวมทั้งกำหนดมาตรการเยียวยาในสินค้าและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมให้ผู้ส่งออกทำคาร์บอนฟุตพริ้นต์ และสร้างแรงจูงใจให้เกิด อุตสาหกรรมใหม่ๆ 6. เพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ยวข้องกับกรอบความตกลงและพันธกรณีด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ โดยศึกษารายละเอียดและสร้างความ เข้าใจของพันธกรณี รวมทั้งติดตามสถานการณ์การเจรจาและท่าทีของประเทศต่างๆ สร้างความพร้อมและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐเพื่อเสริมสร้างเทคนิคการเจรจา พัฒนาความร่วมมือในกลุ่มอาเซียน และสนับสนุนการดำเนินงานตามพันธกรณีและข้อตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. การควบคุมและลดมลพิษ โดยลดปริมาณมลพิษทางอากาศ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะและน้ำเสียชุมชน พัฒนาระบบการจัดการของเสียอันตราย ขยะอีเล็กทรอนิกส์ และขยะติดเชื้อ ลดความเสี่ยงอันตราย การรั่วไหล และการเกิดอุบัติภัยจากสารเคมี และพัฒนาระบบเตือนภัย แจ้งเหตุฉุกเฉิน และระบบการจัดการเมื่อเกิดอุบัติภัยด้านมลพิษ 8. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็นธรรมอย่างบูรณาการ โดยพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และ ส่งเสริมสิทธิชุมชนในการเข้าถึงและ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมและ พัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นและชุมชน ปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมและบังคับใช้อย่างเสมอภาคเป็นธรรม ปรับนโยบายการ ลงทุนภาครัฐให้เอื้อต่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลักดันให้มีการ จัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อม รวมถึงการปฏิรูปการบริหารจัดการงบประมาณของประเทศ การยกระดับขีดความสามารถในการปรับตัวรับมือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 3 4 การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤติจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5 6 เพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ยวข้องกับกรอบความตกลงและพันธกรณีด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ 7 การควบคุมและลดมลพิษ 8 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็นธรรมอย่างบูรณาการ www.nesdb.go.th

ขอขอบคุณ กองวิชาการและแผนงาน www.nesdb.go.th 17