พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 นายเฉลิมพล เลียบทวี ผู้บรรยาย สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
สิทธิของประชาชนตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสาร - สิทธิ “ได้รู้” ม. 7 ม. 9 ม สิทธิของประชาชนตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสาร - สิทธิ “ได้รู้” ม.7 ม.9 ม.11 ม.25 และ ม.26 - สิทธิ “ได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง” ม.12 - สิทธิ “คัดค้านการเปิดเผย” ม.17 - สิทธิ “ร้องเรียน” ม.13 - สิทธิ “อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผยหรือไม่รับ ฟังคำคัดค้าน” ตามม.18 “อุทธรณ์กรณีหน่วยงานไม่แก้ไขหรือลบ ข้อมูลส่วนบุคคล” ตามม.25 2
สิทธิในการตรวจดู ขอสำเนา ร้องเรียน อุทธรณ์ ฯลฯ ผู้ที่มีสิทธิตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสาร สิทธิในการตรวจดู ขอสำเนา ร้องเรียน อุทธรณ์ ฯลฯ -บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลที่มี สัญชาติไทย -บุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทย แต่ ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ใน ประเทศไทย 3
เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล “สิทธิได้รู้” ไม่ต้องมีส่วนได้เสีย
ความหมายของ “ข้อมูล ข่าวสาร” (ม.4 ว.1) สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อเท็จจริง หรือข้อมูลใด ๆ ซึ่งทำได้ โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่าน วิธีการใดๆ สิ่งใดถ้ามนุษย์สามารถใช้เป็นสื่อ ความหมายได้ก็เป็นข้อมูลข่าวสารทั้งหมด
ความหมายของ “ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ” (ม. 4 ว ความหมายของ “ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ” (ม.4 ว.1) ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความ ครอบครอง หรือ ควบคุมดูแล ของ หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ การดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับเอกชน
ความหมาย “หน่วยงานของ รัฐ” (ม. 4 ว ความหมาย “หน่วยงานของ รัฐ” (ม.4 ว.3) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วน ภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการ พิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุม การประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระ ของรัฐ และหน่วยงานอื่นตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง
หน่วยงานของรัฐในประเทศไทย ราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง กรม ราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด อำเภอ ราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา รัฐวิสาหกิจ เช่น กฟผ. กฟภ. กปน.
องค์กรที่ใช้อำนาจตามกฎหมาย องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ เช่น - สภาทนายความ - แพทยสภา - สภาวิศวกร - เนติบัณฑิตยสภา - สภาผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
องค์กรอิสระ - สำนักงาน ป. ป. ช องค์กรอิสระ - สำนักงาน ป.ป.ช. - สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน - สำนักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชน - สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน - สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง - ฯลฯ 1010
หน่วยงานอื่นๆของรัฐตาม ความหมายของ พรบ. ข้อมูล ข่าวสารฯ - ธ. ออมสิน ธ หน่วยงานอื่นๆของรัฐตาม ความหมายของ พรบ.ข้อมูล ข่าวสารฯ - ธ.ออมสิน ธ.กรุงไทย ธ.อาคาร สงเคราะห์ ธพว. - บริษัทการบินไทย บริษัท ป.ต.ท. - บริษัทบริหารสินทรัพย์ - ตลาดหลักทรัพย์ - ฯลฯ 1111
ข้อมูลข่าวสารของราชการ ส่งให้หอจดหมายเหตุ (มาตรา 26) หน้าที่และวิธีดำเนินการของหน่วยงานของรัฐ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ ลงพิมพ์ ในราชกิจจาฯ (มาตรา 7 ) เรื่องที่ต้องให้รู้ ส่งให้หอจดหมายเหตุ (มาตรา 26) เอกสารปวศ. จัดให้ประชาชน เข้าตรวจดู ( มาตรา 9 ) เรื่องที่สนใจ จัดให้ เฉพาะราย ( มาตรา 11 ) เรื่องที่อยากรู้
วิธีที่ 1 การพิมพ์ในราชกิจจา นุเบกษา (ม.7) ข้อมูลข่าวสารที่ต้องนำไปลงพิมพ์ ได้แก่ 1. โครงสร้างและการจัดองค์กรในการ ดำเนินงาน [ม.7(1)] 2. สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญและวิธีการ ดำเนินงาน [ม.7(2)] 3. สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร [ม.7(3)]
ข้อมูลข่าวสารที่ต้องนำไปลงพิมพ์ใน ราชกิจจานุเบกษา (ต่อ) 4 ข้อมูลข่าวสารที่ต้องนำไปลงพิมพ์ใน ราชกิจจานุเบกษา (ต่อ) 4. กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบ แผน นโยบายหรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่ เกี่ยวข้อง [ม.7(4)] 5. ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการ กำหนด
1.ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัด ไว้ให้ประชาชนตรวจดู วิธีที่ 2 การจัดไว้ให้ประชาชน ตรวจดู (มาตรา 9) 1.ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัด ไว้ให้ประชาชนตรวจดู 2.วิธีการจัดให้ตรวจดู > ศูนย์ข้อมูล ข่าวสาร 1515
ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) (1) ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผล โดยตรงต่อเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้ง และคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณา วินิจฉัยดังกล่าว (2) นโยบายและการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้อง ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7 (4) (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ รายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการ (4) คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิ หน้าที่ของเอกชน เช่น ขั้นตอนการขอ อนุญาต อนุมัติเพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง
ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ต่อ ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ต่อ (5) สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงมาตรา 7 วรรค 2 (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะ เป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วม ทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการ สาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติ คณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี (8) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการ กำหนด
วิธีที่ 3 การจัดหาข้อมูลข่าวสาร ให้เอกชนเป็นการ เฉพาะราย (มาตรา 11) - เป็นการจัดข้อมูลข่าวสารให้ตามที่มีผู้มายื่น คำขอ - หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้ภายในเวลาอัน สมควร เว้นแต่ขอจำนวนมากหรือบ่อยครั้ง (ม.11 วรรค 1)
มติ ครม. เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2547 กรณีประชาชนขอข้อมูลข่าวสาร และหน่วยงานรัฐมีพร้อมอยู่แล้วให้ดำเนินการโดยเร็ว หรือภายในวันที่ขอ ถ้าขอมากไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน ให้แจ้งผู้ขอทราบภายใน 15 วัน และแจ้งกำหนดวันแล้วเสร็จด้วย
ลักษณะข้อมูลข่าวสารที่ต้อง จัดให้ (ม. 11) 1 ลักษณะข้อมูลข่าวสารที่ต้อง จัดให้ (ม.11) 1. เป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว และ 2. ไม่ต้องจัดทำขึ้นใหม่ เว้นแต่การแปร สภาพของข้อมูลสาร 2020
หลักเกณฑ์การเรียกค่าธรรมเนียม - หน่วยงานของรัฐวางหลักเกณฑ์การเรียก ค่าธรรมเนียมในการขอสำเนาหรือสำเนาที่มีค่ารับรอง ถูกต้องได้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการข้อมูล ข่าวสารฯ - ค่าธรรมเนียมที่หน่วยงานของรัฐสามารถกำหนดได้ โดยถือว่า คณะกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบแล้วคือ อัตรา ดังต่อไปนี้ (1) เอ 4 หน้าละไม่เกิน 1 บาท (2) เอฟ 14 หน้าละไม่เกิน 1.50 บาท (3) บี 4 หน้าละไม่เกิน 2 บาท (4) เอ 3 หน้าละไม่เกิน 3 บาท (5) พิมพ์เขียวเอ 2 หน้าละไม่เกิน 8 บาท (6) พิมพ์เขียวเอ 1 หน้าละไม่เกิน 15 บาท (7) พิมพ์เขียวเอ 0 หน้าละไม่เกิน 30 บาท
การแจ้งสิทธิ และ คำแนะนำที่ถูกต้อง มาตรา 12 2222
การแจ้งสิทธิ และคำแนะนำที่ ถูกต้อง (มาตรา 12) 1. ถ้าข้อมูลข่าวสารตามคำขอไม่อยู่ในความ ครอบครองแต่อยู่ในความครอบครองหรือ ควบคุมดูแลของหน่วยงานอื่น ให้แจ้งผู้ขอทราบ และแนะนำให้ไปยื่นคำขอที่หน่วยงานดังกล่าว (ม.12 วรรค 1) 2. ถ้าเป็นข้อมูลที่หน่วยงานอื่นจัดทำและ กำหนดชั้นความลับไว้ ให้ส่งคำขอให้หน่วยงาน นั้นพิจารณา (ม.12 วรรค 2) 2323
ตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ การใช้สิทธิของ ประชาชน ตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ 2424
การใช้สิทธิร้องเรียน (ม.13) 1. ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตาม ม.7 2. ไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ตรวจดูตาม ม.9 3. ไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารให้แก่ตนตาม ม.11 (เงียบเฉย) 4. ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ 5. ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า 6. ไม่ได้รับความสะดวก 7. หน่วยงานปฏิเสธว่าไม่มีข้อมูลตามที่ ขอ แต่ประชาชนไม่เชื่อ ม.33 2525
การใช้สิทธิร้องเรียนตาม มาตรา ๓๓ ประชาชนมีคำขอข้อมูลข่าวสารแล้ว หน่วยงานปฏิเสธว่าไม่มีข้อมูลตามที่ขอ แต่ประชาชนไม่เชื่อ 2626
การร้องเรียน และการ ดำเนินการเรื่องร้องเรียน - ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ของราชการ - เมื่อคณะกรรมการฯ ให้คำแนะนำหรือให้ ความเห็นต่อเรื่องร้องเรียนให้หน่วยงานของรัฐ ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และโดยด่วนที่สุด (มติครม. 9 มี.ค. 42) 2727
การใช้สิทธิอุทธรณ์ -หน่วยงานปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารตามคำขอ -หน่วยงานไม่รับฟังคำคัดค้านการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร *อุทธรณ์คำสั่งฯ ภายใน 15 วัน (ม.18)* -หน่วยงานไม่ลบ ไม่แก้ไข ข้อมูลส่วน บุคคล *อุทธรณ์คำสั่งฯ ภายใน ๓๐ วัน (ม.๒๕)* 2828
-เป็นที่สุด (ม.37 ว.2) แต่.... คำวินิจฉัยของ คณะกรรมการวินิจฉัยฯ - ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่พอใจคำวินิจฉัยของ คณะกรรมการก็มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ตามพรบ.จัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ.2542 - ในส่วนของหน่วยงานของรัฐนั้นต้องปฏิบัติ ตามคำวินิจฉัยโดยเคร่งครัดภายใน 7 วัน ถ้า ไม่ปฏิบัติตามโดยไม่มีเหตุผลที่สมควร ให้ ผู้บังคับบัญชาดำเนินการพิจารณาลงโทษทางวินัย ทุกกรณี (มติครม. 9 มี.ค. 42) -ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐฟ้องคดีปกครอง เพื่อเพิกถอนคำวินิจฉัย (มติครม. 11 เม.ย. 49) -มติ ครม.วันที่ 23 มิ.ย.52 มีหลักการ เดียวกับมติเมื่อวันที่ 9 มี.ค.42 และวันที่ 11 เม.ย.49 2929
สิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร ม.17 ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่า การเปิดเผยข้อมูล ใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้แจ้งผู้นั้นคัดค้านการเปิดเผยภายในเวลา ที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 15 วัน) ถ้ามีการคัดค้านการเปิดเผยแล้ว เจ้าหน้าที่ไม่รับฟังคำคัดค้าน ผู้คัดค้าน อุทธรณ์คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้านได้ตามม.18 3030
ข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงาน อาจปฏิเสธการ เปิดเผยแก่ผู้ยื่นคำขอ 3131
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความ เสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ (มาตรา 14)
ข้อมูลข่าวสารที่อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย (ม.15) ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวมีลักษณะ ดังนี้ (1) ความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ (2) ทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อม ประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ได้ (3) ความเห็นหรือคำแนะนำภายใน หน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่อง หนึ่งเรื่องใด แต่ไม่รวมรายงานทาง วิชาการ รายงานข้อเท็จจริง
ข้อมูลข่าวสารที่อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย (ม.15) ต่อ (4) อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความ ปลอดภัยของบุคคล (5) รายงานทางการแพทย์ หรือข้อมูลส่วน บุคคลซึ่งการเปิดเผยอาจเป็นการรุกล้ำ สิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร (6) มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือ ผู้ให้ข้อมูลไม่ประสงค์ให้เปิดเผย (7) กรณีอื่นตามที่กำหนดในพรฏ. * คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารต้องระบุ เหตุผลด้วย
การใช้ดุลพินิจพิจารณาคำขอข้อมูลข่าวสาร ต้องคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ประกอบกัน (1) การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ (2) ประโยชน์สาธารณะ (3) ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์การเรียกค่าธรรมเนียม - ถ้าจะเรียกเกินกำหนดดังกล่าว ต้องขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ ก่อน เว้นแต่เป็นการเรียกไม่เกินต้นทุนที่แท้จริง - ค่าธรรมเนียมการให้คำรับรองสำเนา ถูกต้องที่ถือว่าคณะกรรมการฯ ให้ความ เห็นชอบ คำรับรองละไม่เกิน 5 บาท * ประกาศคณะกรรมการฯ วันที่ ๗ พ.ค.๒๕๔๒
มาตรการคุ้มครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ 3737
การออกคำสั่งและการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ม.20) กรณีเจ้าหน้าที่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม ม.15 ไม่ต้องรับผิดแม้เข้าข่ายต้องมี ความรับผิดชอบ ถ้ากระทำโดยสุจริต และ 1. ถ้าได้ดำเนินการตามระเบียบที่ กำหนดใน ม.16 2. เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นดำรงตำแหน่ง ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง *แต่หน่วยงานของรัฐไม่พ้นจากความรับ ผิด*
การกำหนดระเบียบตาม (ม.16) ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของ ทางราชการ พ.ศ.2544 อาศัยอำนาจตาม ความในมาตรา 16 และมาตรา 26 ว.5 แห่ง พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ
กฎกระทรวงฉบับที่ 4 วันที่ 30 มิ.ย. 47 กำหนดดังนี้ การมีคำสั่งให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ เป็นการทั่วไปหรือเฉพาะแก่บุคคลใด ให้ เป็นอำนาจของเจ้าหน้าของรัฐ ดังนี้ 1. ข้าราชการพลเรือนระดับ 6 ขึ้นไป 2. ทหาร ตำรวจ ยศพันตรี นาวา อากาศตรี นาวาตรี พันตำรวจตรี ขึ้นไป 3. ผู้บริหารท้องถิ่น ปลัดอบจ. ปลัดเทศบาล ปลัดอบต.
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดฯ พ.ศ.2539 พรบ.ความรับผิดทางละเมิดฯ พ.ศ.2539 หลักตามมาตรา 5 - หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดชอบต่อ ผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของ ตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐได้ โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ หลักตามมาตรา 8 - หน่วยงานของรัฐเรียกให้เจ้าหน้าที่ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้ถ้าเจ้าหน้าที่ กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง
ข้อมูลข่าวสารส่วน บุคคล 4242
ความหมาย “ข้อมูลข่าวสารส่วน บุคคล” (ม.4 ว.5) ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ สิ่งเฉพาะตัว ของ บุคคล ที่มี ชื่อ เลขหมาย รหัส สิ่งบอกลักษณะอื่น ที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ ***รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผู้ที่ ถึงแก่ความตาย*** 4343
ตัวอย่างข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวบุคคล ตัวอย่างข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้น - ฐานะการเงิน - การศึกษา - ประวัติสุขภาพ - ประวัติอาชญากรรม ประวัติการทำงาน ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล ฯลฯ - ชื่อ รหัส - หมายเลขประจำตัว สิ่งบ่งชี้อย่างอื่น เช่น ลายมือชื่อ ลายพิมพ์นิ้วมือ -แผ่นบันทึกลักษณะเสียง -รูปถ่าย 4444
หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐต่อข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (ม.23) (1) เก็บข้อมูลเท่าที่จำเป็นเพื่อให้การ ดำเนินงานของรัฐสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น (2) พยายามเก็บจากเจ้าของข้อมูล โดยตรง (3) จัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจา นุเบกษา (4) ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องอยู่ เสมอ (5) จัดระบบรักษาความปลอดภัยมิให้ นำไปใช้โดยไม่เหมาะสม 4545
ตัวอย่างการจัดเก็บข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคล -ทะเบียนประวัติอาชญากร -ทะเบียนประวัติข้าราชการ (ก.พ.7) -รายงานการสืบเสาะและพินิจของกรมคุม ประพฤติ หรือสถานพินิจ -ฐานข้อมูลทะเบียนบ้าน และบัตร ประจำตัวประชาชน 4646
ข้อยกเว้นให้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล (ม.24) โดยหลักการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล จะนำไป เปิดเผยโดยเจ้าของข้อมูลไม่ยินยอมเป็นหนังสือไม่ได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผย - ต่อเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เพื่อนำไปใช้ตามอำนาจ หน้าที่ - เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของ การจัดให้มีข้อมูล - ต่อหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านการวางแผน สถิติ หรือสำมะโนต่าง ๆ - เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย - ต่อหอจดหมายเหตุ กรมศิลปากร ตาม ม.26 - ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อป้องกันการฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบสวน การฟ้อง คดี - เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพ ของบุคคล - ต่อศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงาน/บุคคล ที่มี อำนาจตามกฎหมาย - กรณีอื่นตามที่กำหนดในราชกิจจานุเบกษา
สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (ม.25) 1. ตรวจดู หรือขอสำเนา ข้อมูลของ ตน 2. ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือลบข้อมูล ของตน *กรณีดำเนินการแทนผู้เยาว์ คนไร้ ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ ผู้ที่ถึงแก่กรรม ให้เป็นไปตาม กฎกระทรวง*
กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2541) -ผู้เยาว์ > ผู้ใช้อำนาจปกครอง ดำเนินการแทน (ถ้าผู้เยาว์อายุกว่า 15 ปี ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เยาว์) -คนไร้ความสามารถ > ผู้อนุบาล ดำเนินการแทน -คนเสมือนไร้ความสามารถ > ผู้พิทักษ์ ดำเนินการแทน -ผู้ที่ถึงแก่กรรม > 1.บุตร หรือบุตรบุญ ธรรม 2.คู่สมรส 3.บิดาหรือมารดา 4. ผู้สืบสันดาน 5.พี่น้องร่วมบิดามารดา ดำเนินการแทน (แต่ถ้าดำเนินการแทนตาม ม.24 ต้องตามลำดับก่อนหลัง ถ้าไม่มี 1.-5. ที่จะ ให้ความยินยอม เป็นอำนาจของ กขร.) 4949
การใช้สิทธิอุทธรณ์ การอุทธรณ์คำสั่งในกรณีที่หน่วยงานไม่ แก้ไขหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ต้อง อุทธรณ์ภายใน 30 วัน ตาม ม.25 ว.4 5050
เอกสารประวัติศาสตร์ (ม.26) 1. หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บ รักษา 2. มีอายุครบกำหนด - ตาม ม.14 ครบ 75 ปี - ตาม ม.15 ครบ 20 ปี ให้ส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เพื่อคัดเลือกให้ประชาชนศึกษา 5151
กรณีขอขยายเวลาส่งเอกสารประวัติศาสตร์ 1. หากหน่วยงานจะขอเก็บรักษาไว้เอง เพื่อใช้สอย ต้องจัดให้ประชาชนศึกษาได้ 2. หากเห็นว่ายังไม่ควรเปิดเผย สามารถขอขยายเวลาเก็บได้คราวละไม่เกิน 5 ปี 5252
คณะกรรมการวินิจฉัยฯ สาขาต่าง ๆ ปัจจุบันมี กวฉ. เพื่อพิจารณาเรื่องอุทธรณ์ จำนวน 5 สาขา 1. สาขาการแพทย์และสาธารณสุข 2. สาขาต่างประเทศและความมั่นคงของ ประเทศ 3. สาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการเกษตร 4. สาขาเศรษฐกิจและการคลังของประเทศ 5. สาขาสังคม การบริหารราชการ แผ่นดินและการบังคับใช้ กฎหมาย
พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 หลักตามมาตรา 44 - ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายแต่ละปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างใน ปีงบประมาณนั้น และสัญญาใดๆ ที่ได้มี การอนุมัติให้จัดซื้อจัดจ้างแล้วให้ประชาชน สามารถขอดูหรือตรวจสอบได้ ณ ที่ทำ การ และระบบเครือข่ายสารสนเทศ 5454
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนาเป็นหน่วยงานต้นแบบ
ประกาศ กขร. เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2541 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐต้อง 1. จัดให้มีสถานที่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวก 2. จัดทำดัชนี เพื่อให้ค้นคว้าได้สะดวก 3. จัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9 ไว้ให้ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้โดยสะดวก 4. กำหนดระเบียบปฏิบัติในการเข้าตรวจดูของประชาชน 56
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ 1. สถานที่ตั้ง - ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวก - เป็นสัดส่วน - มีป้ายชื่อศูนย์ฯ/ป้ายบอกทาง เห็นชัดเจน 57
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ (ต่อ) 2. วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก - โต๊ะ/เก้าอี้ สำหรับเจ้าหน้าที่และประชาชน - ตู้/ชั้น ใส่แฟ้มเอกสาร - เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์/โทรสาร - แบบฟอร์ม เครื่องเขียน - แผนภาพขั้นตอนการให้บริการ แผ่นพับ ฯลฯ 58
อุปกรณ์ที่จัดไว้ในศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ (ต่อ) 3. การมอบหมายหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ - ผ่านการอบรม/มีความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารฯ - มีจิตบริการ (Service mind) - จัดทำดัชนี/จัดทำแฟ้มข้อมูลได้ - สามารถปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์ได้ อย่างต่อเนื่อง 60
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ (ต่อ) 4. การจัดทำดัชนี - ดัชนีรวม - ดัชนี/สารบัญประจำแฟ้ม 61
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ (ต่อ) 5. การกำหนดระเบียบ/หลักเกณฑ์การให้บริการ - จัดตั้งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน - จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ - จัดทำคู่มือ/ขั้นตอนการให้บริการประชาชนของศูนย์ฯ - จัดทำแผนพัฒนาศูนย์ฯ - จัดทำสมุดทะเบียนผู้ขอเข้าใช้บริการ และแบบฟอร์มต่างๆ - กำหนดระเบียบว่าด้วยค่าธรรมเนียมการขอสำเนาเอกสาร 62
ตู้เอกสารใส่แฟ้มข้อมูล
ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) (1) ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผล โดยตรงต่อเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้ง และคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณา วินิจฉัยดังกล่าว (2) นโยบายและการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้อง ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7 (4) (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ รายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการ (4) คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิ หน้าที่ของเอกชน เช่น ขั้นตอนการขอ อนุญาต อนุมัติเพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง
ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ต่อ ประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) ต่อ (5) สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงมาตรา 7 วรรค 2 (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะ เป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วม ทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการ สาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติ คณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี (8) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการ กำหนด
ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะ กรรมการฯ กำหนดตามมาตรา 9 (8) ขณะนี้คณะกรรมการได้ออกประกาศ กำหนดไว้ ๔ ฉบับ 1. ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบ ราคา 2. สรุปผลการพิจารณาการจัดซื้อจัดจ้าง ประจำเดือน (แบบ สขร.1) 3. เอกสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และ สุขภาพ
๔. ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐาน ความโปร่งใสและตัวชี้วัด ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะ กรรมการฯ กำหนดตามมาตรา 9 (8) ต่อ ๔. ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐาน ความโปร่งใสและตัวชี้วัด ความโปร่งใสของหน่วยงานของรัฐ 4.1 เกี่ยวกับการจัดหาพัสดุ 4.2 เกี่ยวกับการให้บริการประชาชน 4.3 เกี่ยวกับการบริหารงานของหน่วยงาน 4.4 เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณของหน่วยงาน
๔. ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐานความ โปร่งใสฯ (ต่อ...) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะ กรรมการฯ กำหนดตามมาตรา 9 (8) (ต่อ...) ๔. ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐานความ โปร่งใสฯ (ต่อ...) 4.5 เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล 4.6 เกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน ***ครม.มีมติให้นำข้อมูลข่าวสารตาม ม.9 เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของหน่วยงานด้วย
69 69
สขร...... ???
สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร.) เป็นหน่วยงานสังกัด สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี -ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานวิชาการและธุรการให้กับคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ช่องทางติดต่อ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 02 281 8559 มือถือ 089 2167109 www.oic.go.th 7373