งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
โดย นายเวชชวุฒิ บุญชูวิทย์ Thursday, April 04, 2019

2 เหตุผลสำคัญของกฏหมาย
1)ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข่าวสาร เกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐอย่างกว้างขวาง 2) กำหนดข้อยกเว้นให้ชัดเจน 3) คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล

3

4 ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่า จะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงาน ของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน

5 หน่วยงานของรัฐในประเทศไทย
ส่วนกลาง กระทรวง / ทบวง กรม หน่วยราชการอิสระ รัฐวิสาหกิจ

6 ภูมิภาค จังหวัด อำเภอ 794

7 เทศบาล 1,129 อบจ. 75 กทม. 1 เมืองพัทยา 1 อบต. 6,397 ท้องถิ่น

8 องค์กรที่ใช้อำนาจตามกฎหมาย - องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ - สภาทนายความ - แพทยสภา - คณะกรรมการควบคุมการประกอบ อาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม - เนติบัณฑิตยสภา - สภาผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

9 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ
ลงพิมพ์ใน ราชกิจจาฯ จัดให้ประชาชน เข้าตรวจดู จัดหาให้ เฉพาะราย ม. 7 ประชาชน ต้องรู้ ม. 9 ประชาชน สนใจ ม. 11 ประชาชน ต้องการรู้

10 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7). (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร
1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร (2) สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ และ วิธีการดำเนินงาน (3) สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร (4) กฎ มติ ค.ร.ม. ข้อบังคับ คำสั่งฯ (5) ข้อมูลข่าวสารอื่น

11 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) (1) ผลการพิจารณาที่มีผลต่อเอกชนโดยตรง (2) นโยบายและการตีความ (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ (4) คู่มือหรือ คำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน (5) สิ่งพิมพ์ที่มีการอ้างอิงถึงใน ราชกิจจานุเบกษา

12 (6) สัญญาสำคัญของรัฐ. - สัญญาสัมปทาน. - สัญญาผูกขาดตัดตอน
(6) สัญญาสำคัญของรัฐ - สัญญาสัมปทาน - สัญญาผูกขาดตัดตอน - สัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทำบริการสาธารณะ (7) มติ ค.ร.ม., คณะกรรมการที่แต่งตั้ง โดยกฎหมาย และคณะกรรมการที่ แต่งตั้งโดย มติ ค.ร.ม. (8) ข้อมูลข่าวสารอื่น

13 พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ เกี่ยวข้องกับระเบียบฯ พัสดุอย่างไร
ประกาศคณะกรรมการฯ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๒ -. กำหนดให้ประกาศสอบราคาและประกวดราคา เป็นข้อมูลข่าวสาร ที่ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ (เก็บไว้อย่างน้อย ๑ ปี) ประกาศคณะกรรมการฯ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓ -. สรุปผลการพิจารณาในงานที่จัดซื้อจัดจ้าง หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๗/ว๑๖๑ ลว.๑๓ มกราคม ๒๕๔๘ -. นำประกาศสอบราคา ประกวดราคา ผลการพิจารณาประกาศใน Web Site

14 วิธีการจัดให้ตรวจดู ประกาศคณะกรรมการฯ 24 ก. พ
วิธีการจัดให้ตรวจดู ประกาศคณะกรรมการฯ 24 ก.พ.41 (1) ต้องมีสถานที่เฉพาะ (2) จัดทำดรรชนี (3) ประชาชนต้องหยิบได้เอง (4) คำนึงถึงความสะดวก (5) อาจเป็นห้องสมุดหรือ ห้องในหน่วยงานอื่น

15 3) การจัดหาให้เอกชนเป็นการ เฉพาะราย (มาตรา 11) (1) มีการยื่นคำขอระบุข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะ ที่อาจเข้าใจได้ตามควร (2) ต้องไม่ขอจำนวนมาก หรือ บ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอัน สมควร

16 ลักษณะข้อมูลที่จัดให้ (1) ข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว (2) ไม่ต้องจัดทำขึ้นใหม่ เว้นแต่การแปรสภาพเป็นเอกสาร แต่หากเห็นว่ามิใช่เป็นการแสวงหาประโยชน์ทางการค้า และเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ หรือเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะ อาจจัดหาให้ก็ได้

17 กรณีข้อมูลข่าวสาร ไม่อยู่ในครอบครอง
กรณีข้อมูลข่าวสาร ไม่อยู่ในครอบครอง ของหน่วยงานของรัฐและเห็นว่า เป็นของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น ให้แนะนำไปยื่นคำขอ ที่หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแล (มาตรา 12)

18 ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสีย หายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ (มาตรา 14)

19 มาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารที่อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย ใช้ดุลพินิจโดยคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ประกอบกัน 1) การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงาน ของรัฐ 2) ประโยชน์สาธารณะ 3) ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง

20 ข้อมูลข่าวสารที่อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย ต้องเข้าข้อยกเว้นต่อไปนี้ (มาตรา 15 ) (1) ความมั่นคงของประเทศ (2) การบังคับใช้กฎหมาย (3) ความเห็นภายใน (4) ความปลอดภัยของบุคคล (5) ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (6) กฎหมายหรือบุคคลเจ้าของข้อมูลกำหนด มิให้เปิดเผย

21 มาตรา 17 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใด อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 15 วัน)

22 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล

23 “ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ” (ม. 4 วรรคที่ห้า)
“ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ” (ม. 4 วรรคที่ห้า) ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ สิ่งเฉพาะตัวของบุคคล บุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติ สุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการ ทำงาน บรรดาที่มีชื่อของผู้นั้น หรือมีเลขหมาย รหัส หรือ สิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง ของคน หรือรูปถ่าย และให้หมายความรวมถึง ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผู้ที่ถึง แก่กรรมแล้วด้วย

24 จัดเก็บข้อมูลเท่าที่จำเป็น ต้องยกเลิกเมื่อ หมดความจำเป็น ตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง อยู่เสมอ และจัดระบบ รปภ. (ม.23) พยายามเก็บข้อมูลโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล (ม.23) จะเปิดเผยข้อมูลโดยปราศจากความยินยอม ไม่ได้ (ม.24)

25 ยอมให้เจ้าของข้อมูลขอดูข้อมูลเกี่ยวกับตนได้ (ม. 25)
ยอมให้เจ้าของข้อมูลขอดูข้อมูลเกี่ยวกับตนได้ (ม. 25) แก้ไขข้อมูลให้ตรงความจริงตามที่เจ้าของ ร้องขอ (ม. 25) จัดให้พิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ใน 6 ประเด็น (ม. 23)

26 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ที่ต้องพิมพ์ในราชกิจจาฯ (ม. 23 ว. 3)
(ก) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ (ข) ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (ค) ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ (ง) วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของ ข้อมูล (จ) วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล (ฉ) แหล่งที่มาของข้อมูล

27 4) เปิดเผยได้เฉพาะกรณีเข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 24 เป็นกรณีเปิดเผยดังนี้

28 ต่อจนท.ในหน่วยงานนำไปใช้ตามอำนาจหน้าที่ การใช้ข้อมูลตามปกติ
ต่อหน่วยงานที่ทำงานด้านแผน/การสถิติ การใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย ต่อหอจดหมายเหตุฯ เพื่อการตรวจดูคุณค่า ม. 26 วรรคหนึ่ง ต่อจนท. เพื่อป้องกันการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม กม. กรณีจำเป็นเพื่อป้องกัน/ระงับอันตรายต่อชีวิต/สุขภาพ ต่อศาล และ จนท. หน่วยงาน /บุคคลที่มีอำนาจตาม กม. กรณีอื่นตามที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา

29 เอกสารประวัติศาสตร์

30 เอกสารที่ต้องส่งให้ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
(1) หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์ จะเก็บรักษา (2) มีอายุครบกำหนด - ปกปิดตาม ม. 14 ได้ 75 ปี - ปกปิดตาม ม. 15 ได้ 20 ปี

31 กรณีขอขยายเวลา (1) หน่วยงานขอเก็บรักษาไว้เอง เพื่อใช้สอย ต้องจัดให้ประชาชน ศึกษาได้ (2) ยังไม่ควรเปิด ต้องขอขยาย เวลาเก็บได้คราวละ ไม่เกิน 5 ปี

32 กลไก ในการปฏิบัติงานของภาครัฐ
กลไก ในการปฏิบัติงานของภาครัฐ 1) คณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่

33 2) คณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
2) คณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร องค์ประกอบ อำนาจ หน้าที่

34 ความสัมพันธ์กับกลไกต่าง ๆ
คณะกรรมการ ฯ หน่วยงาน ของรัฐ สำนักงาน สขร. คณะกรรมการ วินิจฉัย ส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น ประชาชน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอิสระ

35 ประโยชน์ของ พ.ร.บ. ประชาชน 1. เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองได้โดยตรง 2. แสดงความคิดเห็นของตนและสะท้อนความต้องการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานของรัฐ 1. โปร่งใส ตรวจสอบได้ 2. สร้างภาพลักษณ์ที่ดี 3. เกิดการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สังคมส่วนรวม 1. เกิดค่านิยมและวิถีปฏิบัติที่ดี 2. ส่งเสริมความคิดสังคมประชาธิปไตย

36 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า ประจำปี 2550
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า ประจำปี 2550 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผลความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 7.1 ความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารจะพิจารณาจาก ผลการดำเนินงานของ ขั้นตอนการดำเนินงาน

37 กรอบการประเมินผล (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 1 : มีการปฏิบัติหน้าที่ตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ * จัดสถานที่ให้ประชาชนเข้าดูได้โดยสะดวก * มีป้ายบอกที่ตั้งศูนย์ข้อมูล หรือสถานที่บริการชัดเจน ขั้นตอนที่ 2 : มีการจัดระบบข้อมูลฯตามมาตรา 9 * มีข้อมูลตามมาตรา 9 ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน * มีการจัดทำดัชนีฯไว้อย่างชัดเจน สามารถสืบค้นได้เร็ว

38 กรอบการประเมินผล (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 3 : หน่วยงานมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบ ดังนี้ * มีการมอบหมายเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ * ผู้บริหารของหน่วยงานให้ความสำคัญ และ ควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย * มีการจัดเก็บสถิติผู้มาใช้บริการ

39 กรอบการประเมินผล (ต่อ)
กรอบการประเมินผล (ต่อ) ขั้นตอนที่ 4 : มีการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิรับรู้ฯ * บุคคลกรของหน่วยงานได้รับการพัฒนาความรู้ทางกฎหมายข้อมูลฯ อย่างสม่ำเสมอ * มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่เกี่ยวกับกฎหมายฯให้ประชาชนทราบถึงสิทธิในการตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงาน * มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางต่างๆ มีการนำความคิดเห็นมาประกอบการพิจารณาประกอบการบริหารจัดการด้านการเปิดเผย หรือ ให้บริการข้อมูลข่าวสาร

40 กรอบการประเมินผล (ต่อ)
กรอบการประเมินผล (ต่อ) ขั้นตอนที่ 5 : หน่วยงานมีการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม ดังนี้ * นำข้อมูลเกี่ยวกับประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคาที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามแล้ว เผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน * นำสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน

41 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสารหลักฐาน ดังนี้
แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 ขั้นตอนที่ 1 ดำเนินการตาม พรบ. โดย จัดสถานที่/จัดตั้งศูนย์ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อบริการ ข้อมูลตามมาตรา 9 และ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการ ให้ข้อมูลโดยเฉพาะ มีป้ายแสดงที่ตั้งศูนย์ข้อมูล ที่เข้าใจง่าย และเห็นได้ชัด ประเมินผลจากข้อมูล เอกสารหลักฐาน ดังนี้ บันทึก/หนังสือที่ผู้บริหารของ ส่วนราชการสั่งให้มีการจัดตั้ง ศูนย์ข้อมูล ภาพถ่ายสถานที่ตั้งศูนย์ข้อมูล หนังสือแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ประจำ ศูนย์ ภาพถ่ายป้ายสถานที่ตั้งศูนย์ที่ มองเห็นชัดเจน

42 แนวทางการประเมิน 2 ขั้นตอนที่ 2 การจัดระบบข้อมูล
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 2 ขั้นตอนที่ 2 การจัดระบบข้อมูล มีข้อมูลตาม ม.9 ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน จัดทำดัชนีข้อมูลไว้ให้บริการ ณ ศูนย์ข้อมูล ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐาน ดังนี้ มีข้อมูลตามมาตรา 9 ครบ ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน ภาพถ่าย/เอกสารแสดงดัชนี ข้อมูล ที่มีคำอธิบายชัดเจนหรือ แสดงวิธีการสืบค้นข้อมูลจาก ดัชนี

43 ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร
แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 3 ขั้นตอนที่ 3 การบริหารจัดการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลอย่างเป็นระบบ ดังนี้ มอบหมายให้ผู้บริหารระดับรองหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบการปฏิบัติตาม พรบ. ผู้บริหารควบคุมดูแลการปฏิบัติตาม พรบ. เช่น ประชุมซ้อมความเข้าใจการปฏิบัติตาม พรบ. ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐาน ดังนี้ คำสั่งแต่งตั้ง/มอบหมายผู้บริหาร ระดับรองหังหน้าส่วนราชการ รับผิดชอบงานตาม พรบ. บันทึกการประชุมติดตามผล การดำเนินงานของศูนย์ข้อมูลที่ มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม

44 แนวทางการประเมิน 3 ขั้นตอนที่ 3 (ต่อ)
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 3 ขั้นตอนที่ 3 (ต่อ) จัดเก็บสถิติ และสรุปผลการใช้บริการรายงานผู้บริหารของส่วนราชการทราบเสมอ (เป็นรายเดือน/ไตรมาส) ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม/เอกสาร ประกอบการจัดประชุมซ้อม ความเข้าใจการปฏิบัติตาม พรบ. หลักฐานอื่นที่แสดงให้เห็นถึง การให้ความสำคัญและควบคุม ดูแลให้มีการปฏิบัติตาม พรบ. เช่นระเบียบ/คำสั่ง/หนังสือ สั่งการของผู้บริหารส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตาม พรบ.

45 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล บันทึก/หนังสือสั่งการ/รายงาน สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์ ข้อมูลที่เสนอต่อผู้บริหารของ ส่วนราชการเป็นรายเดือน/ ไตรมาส ระบุสถิติของผู้มาใช้ บริการที่ศูนย์ข้อมูล

46 แนวทางการประเมิน 4 ขั้นตอนที่ 4
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 4 ขั้นตอนที่ 4 เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารให้บุคลากร และประชาชนทราบ ดังนี้ จัดอบรม ให้ความรู้ และ พัฒนาความรู้ที่เกี่ยวกับ พรบ. จัดกิจกรรม/มีการ ดำเนินการตามมาตรการ/ ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐาน ดังนี้ แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้อง ปฏิทินการดำเนินงาน และ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน คำสั่ง/หนังสือเวียน/หนังสือเชิญหรืออนุมัติให้เข้าอบรม

47 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล วิธีการในการสร้างจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีต่อการเป็นผู้ให้บริการข้อมูลแก่บุคลากรในส่วนราชการอย่างสม่ำเสมอ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ เกี่ยวกับ พรบ. ให้ ประชาชนทราบถึงสิทธิการ ตรวจสอบการดำเนินงาน ของส่วนราชการอย่างน้อย ชื่อเรื่อง/หัวข้อ/หลักสูตร ที่จัด อบรม วัน เวลาและสถานที่จัดอบรม จำนวนผู้เข้าอบรม และทะเบียน รายชื่อผู้เข้าอบรมลงนามเข้า อบรม ภาพถ่ายการจัดอบรม แผนงาน/โครงการ/มาตรการ/ ปฏิทินการดำเนินงาน การสร้าง จิตสำนักและทัศนคติที่ดีต่อการ

48 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 5 ช่องทาง โดย 1 ใน 5 ช่องทางต้องเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ รับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนที่เกี่ยวกับการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารผ่าน ช่องทางต่างๆ และนำความ คิดเห็นมาพิจารณา ประกอบการบริหารจัดการ ด้านการเปิดเผย/ให้บริการ เป็นผู้ให้บริการข้อมูลข่าวสาร วัน เวลาและสถานที่จัดกิจกรรม ภาพถ่ายและเอกสารประกอบ การจัดกิจกรรม หลักฐานอื่นๆที่แสดงถึงการ ดำเนินการตามมาตรการ/วิธีการ สร้างจิตสำนึก และทัศนคติที่ดี ต่อการเป็นผู้ให้บริการข้อมูล ข่าวสารให้แก่บุคลากรของ ส่วนราชการ เป็นต้น

49 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล ตัวอย่างเอกสารและชื่อช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ชี้แจง หรือให้ ความรู้เกี่ยวกับ พรบ. และสิทธิ ของประชาชนในการตรวจสอบ การดำเนินง่านของส่วนราชการ เช่น โปสเตอร์ แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว จุลสาร วารสาร การจัดนิทรรศการประกาศต่างๆ

50 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล เอกสาร/หลักฐาน ที่แสดงว่าส่วนราชการจัดให้มีระบบ หรือรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางต่างๆ จริง เช่น ชื่อช่องทางที่จัดไว้เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และข้อมูลที่ได้จากช่องทางดังกล่าว ภาพถ่ายการจัดกิจกรรมการรับฟังความคิดเห็น

51 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล บันทึกการประชุม/เอกสารสรุปผลการจัดการรับฟังความคิดเห็น แบบสอบถามความคิดเห็นและสรุปผลที่ได้จากแบบสอบ ถาม เอกสาร/หลักฐาน ที่แสดงว่าส่วนราชการได้นำความคิดเห็นของประชาชนมาพิจารณาหรือ ใช้ประกอบการบริหารจัดการ

52 แนวทางการประเมิน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล งานด้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร เช่น บันทึกการประชุม บันทึก/หนังสือสั่งการของผู้บริหารของส่วนราชการ โดยอ้างอิงความเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ได้จากการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่านช่องทางต่างๆ เป็นต้น

53 แนวทางการประเมิน 5 ขั้นตอนที่ 5
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล 5 ขั้นตอนที่ 5 นำข้อมูลประกาศประกวดราคาและสอบราคาที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามแล้วเผยแพร่ทางเว็บไซด์ของส่วนราชการ จัดทำสรุปผลการจัดซื้อ/จ้างเป็นรายเดือนเผยแพร่ทางเว็บไซด์ของส่วนราชการ ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐาน ดังนี้ เอกสารที่มีภาพพิมพ์หน้าเว็บไซด์ที่มีประกาศประกวดราคาและสอบราคาที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามแล้ว และได้นำลงเว็บไซด์ของส่วนราชการ ชื่อเว็บไซด์และ/ลิงค์ที่สามารถเข้าไปเรียกดูหรือตรวจสอบข้อมูลประกาศประกวดราคาและ

54 แนวทางการประเมิน ราคาที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามแล้ว
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางการประเมินผล ราคาที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามแล้ว ชื่อเว็บไซด์และ/ลิงค์ที่มีการ เผยแพร่สรุปผลการจัดซื้อ/จ้าง ของส่วนราชการที่สามารถเข้าไป ตรวจสอบได้ เอกสารที่มีภาพพิมพ์หน้าเว็บ ไซด์ที่แสดงข้อมูลสรุปผลการ จัดซื้อ/จ้างเป็นรายเดือนของทั้ง ปีงบประมาณ


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google