ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา วิชากฏหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองและคดีอาญา Public International law and Criminal Law ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา Email: nawaporn.sa@cmu.ac.th
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศเป็นกฎหมาย อำนาจผูกพันของกฎหมายระหว่างประเทศ อำนาจบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ (Nature of International Law) กฎหมายระหว่างประเทศเป็นกฎหมายหรือไม่? กฎหมายคืออะไร? กฎเกณฑ์ที่กำหนดโดย รัฏฐาฐิปัตย์ กฎเกณฑ์ที่ควบคุมความ ประพฤติของคนในสังคม V.
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ ปรัชญาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ถึงความเป็นกฎหมายของ กฎหมายระหว่างประเทศ สำนักกฎหมายบ้านเมือง (School of Positivism) สำนักกฎหมายธรรมชาติ (School of Natural Law)
สำนักกฎหมายธรรมชาติ (School of Natural Law) กฎหมายคือเหตุผลที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ มีผลบังคับโดยไม่จำกัดกาลเวลา ไม่จำกัดสถานที่ อยู่เหนือกฎหมายของรัฐซึ่งมนุษย์สร้างขึ้น
สำนักกฎหมายธรรมชาติ (School of Natural Law) กฎหมายระหว่างประเทศ = การใช้บังคับกฎหมายธรรมชาติแก่รัฐ ต่างๆเพราะรัฐมีความผูกพันที่จะต้องเคารพกฎหมายธรรมชาตินั้น กฎหมายระหว่างประเทศที่อยุ่ภายใน เพราะผูกพันมโนธรรมของชาติ ต่างๆ = กฎหมายระหว่างประเทศที่เป็นธรรมชาติ จารีตประเพณีระหว่างประเทศ (International Custom)
สำนักกฎหมายบ้านเมือง (School of Positivism) กฎหมายคือกฎเกณฑ์ที่เกิดจากเจตจำนงแห่งรัฐซึ่งจะประกอบไปด้วย ขั้นตอนและรูปแบบ > เนื้อหา แต่กฎหมายระหว่างประเทศที่มีผลผูกพันมาจากเจตจำนงของรัฐที่ ยินยอมผูกพันในรูปปบบของการยินยอม (Consent) ซึ่งเป็นพื้นฐานของ บ่อเกิดกฎหมายประเภทสนธิสัญญา (Treaties)
สำนักกฎหมายบ้านเมือง (School of Positivism) แต่แนวคิดของกฎหมายบ้านเมืองอาจมีข้อบกพร่องดังนี้ 1. ไม่สามารถอธิบายถึงอำนาจผูกพันของกฎหมายจารีตประเพณี ระหว่างประเทศได้ (Customary International Law) 2. หลักกฎหมายระหว่างประเทศไม่ต้องมีการพิสูจน์ถึงความยินยอมที่ จะผูกพันของรัฐเพียงแต่เป็นกฎหมายที่ได้รับการยอมรับก็เพียงพอ
อำนาจผูกพันของกฎหมายระหว่างประเทศ หลักกฎหมายพื้นฐานที่ทำให้สนธิสัญญามีผลบังคับคือ กฎหมาย จารีตประเพณีระหว่างประเทศ กฎหมายจารีตประเพณีเกอดจากเหตุผลถูกต้องที่รัฐต่างๆถือปฎิบัติต่อ กันมา และเคารพเพราะว่าควรเคารพและปฎิบัติตาม (State Practice & Opinio Juris Sive Necessitates) ประโยชน์ร่วมกัน (Common Interest)
อำนาจบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ หน่วยงานบังคับกฎหมาย? อำนาจบังคับส่วนใหญ่อยู่ที่ประชาคมของรัฐต่างๆ หลักการช่วยเหลือตนเอง (Self-Help)
หลักการช่วยเหลือตนเอง (Self-Help) การใช้มาตรการที่ชอบด้วยกฎหมายตอบโต้การกระทำที่ชอบด้วย กฎหมายแต่ไม่เป็นมิตร (Legal Act against Legal Act but Unfriendly Act) (Retortion) การตอบโต้การกระทำไม่ชอบด้วยกฎหมายด้วยการกระทำที่ไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย (Illegal Act against Illegal Act) (Reprisal) การใช้กำลังเพื่อป้องกันตนเอง (Self-Defence)