ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ผังสาระการเรียนรู้ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ความหมายของ องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบศิลป์
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ องค์ประกอบในการออกแบบงานทัศนศิลป์ - เป็นการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ประกอบขึ้นด้วยกัน 2 แบบ 1. ส่วนที่เป็นรูปแบบที่เป็นกายภาพ ( สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ) 2. ส่วนที่เป็นเนื้อหา เป็นนามธรรม ( ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ) * ลักษณะทางกายภาพ คือ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ - การนำเอาทัศนธาตุ หรือส่วนประกอบมาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะ จนเกิดความงาม น่าสนใจ มีคุณภาพ ทัศนธาตุ คือ ส่วนประกอบของศิลปะ จุด เส้น สี แสงและเงา รูปร่าง รูปทรง ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ
1. จุด ( Point ) - จุดเป็นต้นกำเนิดของงานศิลปะ - จุดมีมิติในตัวเองที่มีขนาดที่เล็กมาก - จุดมีเพียงร้องรอยของรูปลักษณะที่ปรากฏให้เห็นเท่านั้น - จุดมี 2 ลักษณะ 1. จุดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 2. จุดที่เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น
2. เส้น ( Line ) - เส้นเกิดจากจุดหลายๆจุด มาประกอบกันเป็นทางยาว - เกิดจากขีด เขียน ตามทิศทางที่ต้องการ
3. สี ( Colour ) สี มีอิทธิพลต่อมนุษย์ในการมองและให้ความรู้สึกทางด้านจิตใจ มี 2 ประเภท 1. สีจากแสงอาทิตย์ ที่มีลักษณะเป็นแสง 2. สีวัตถุธาตุ สีจากธรรมชาติ สีจากต้นไม้ สีจากใบไม้และสีสังเคราะห์ สีแท้ หมายถึงสีที่เป็นแม่สี วงจรสี หมายถึง สีที่เกิดจากการผสมสีเป็นคู่
สีตัดกัน
สีกับอารมณ์ความรู้สึก
สีกลมกลืน
4. แสงและเงา ( Light &Shade ) แสงจากธรรมชาติ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ แสงและเงา แสงจากมนุษย์สร้างขึ้น เช่น หลอดไฟ
ความสำคัญของค่าน้ำหนักของแสงและเงา 1 ความสำคัญของค่าน้ำหนักของแสงและเงา 1. ให้ความแตกต่างระหว่างรูปและพื้น หรือรูปทรงกับที่ว่าง 2. ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว 3. ให้ความรู้สึกเป็น 2 มิติ แก่รูปร่าง และให้ความรู้สึกเป็น 3 มิติ แก่รูปทรง 4. ทำให้เกิดระยะความตื้น – ลึก และระยะใกล้ - ไกลของภาพ 5. ทำให้เกิดความกลมกลืนประสานกันของภาพ
5. รูปร่าง ( Shape) รูปร่าง รูปร่างเรขาคณิต รูปร่างอิสระ
6. รูปทรง ( Form) รูปทรง มีลักษณะเป็น 3 มิติ รูปทรงในผลงานทางศิลปะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. รูปทรงจากสิ่งมีชีวิต - รูปทรงธรรมชาติ - รูปทรงอิสระ 2. รูปทรงเรขาคณิต
รูปทรงธรรมชาติ รูปทรงอิสระ
การจัดองค์ประกอบศิลป์ 2. ความสมดุล 1. เอกภาพ 3. ความกลมกลืน หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ 7. ช่วงจังหวะ 4. ความขัดแย้ง 5. จุดเด่น หรือจุดสนใจ 6. สัดส่วน
1. เอกภาพ ( Unity ) เป็นรูปแบบในลักษณะจัดวาง เอกภาพประกอบด้วยกฎหลัก 2 ประการ 1. การขัดแย้ง คือ ขัดแย้งในเรื่องขนาด ทิศทาง ที่ว่าง หรือองค์ประกอบศิลป์ 2. การประสาน คือ ศิลปินทำให้ภาพเกิดความกลมกลืน
ภาพการขัดแย้งเปรียบเทียบของกลางวันและกลางคืน
2. ความสมดุล ( Balance) เป็นการจัดวางแบบสมดุลซ้าย – ขวา ความสมดุลแบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก 1. ความสมดุลในลักษณะที่เท่ากัน 2. ความสมดุลในลักษณะที่ไม่เท่ากัน 3. ความสมดุลในลักษณะจุดศูนย์ถ่วง
3. ความกลมกลืน ( Harmony ) เป็นการจัดองค์ประกอบต่างๆ ให้สอดคล้อง ไม่ขัดแย้งกัน
4. ความขัดแย้ง ( Contrast ) เป็นการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่ไม่สัมพันธ์กัน แต่มีความเป็นเอกภาพ ทำให้งานน่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ
5. จุดเด่น จุดสนใจ ( Dominance or Interesting Poing ) จัดองค์ประกอบศิลป์ให้เกิดความสะดุดตา
6. สัดส่วน ( Proportion ) จัดองค์ประกอบศิลป์ ได้เหมาะสมและสัมพันธ์กัน
7. ช่วงจังหวะ ( Rhythm ) จัดองค์ประกอบให้รู้สึกถึงการเคลื่อนไหวได้จังหวะเหมาะสม ลงตัว
จบการนำเสนอ