การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
Report การแข่งขัน.
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
II-9 การทำงานกับชุมชน.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
Medication Reconciliation
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
Long Term Investment Plan : D1
CFO เขตสุขภาพที่ 2.
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT) ปี 2560 งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิฯ กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ สสจ.นครราชสีมา

GOAL 3. บูรณาการ รพ.ติดดาว คู่มือแนวทางการสนับสนุน หน่วยบริการปฐมภูมิ จาก รพ.แม่ข่าย (ประชุม 23 ธค.59 ) รพ.สต.คุณภาพ เชิงรุก เชิงรับ 3. บูรณาการ รพ.ติดดาว 4. พื้นที่เป้าหมายศูนย์เรียนรู้ 91 แห่ง

- ระบบการให้บริการโดยใช้ Intranet นโยบาย นพ.สสจ.นม. 1. พัฒนาระบบบริการ - ระบบการให้บริการโดยใช้ Intranet - ระบบการเยี่ยมบ้านได้แก่ การดูข้อมูลใน Korat report และการลงข้อมูลเยี่ยมบ้านใน Hos xp และ ThaiCOC 2. ปรับสถานะบุคคลทุกเดือน 3. ประสานข้อมูล Refer ของ รพ.มหาราช 4. ยกเลิกการใช้ Family Folder ใน OPD Case 5. การพัฒนา Care Manager ระดับอำเภอ/ตำบล (ระบบการเยี่ยมบ้าน)

แนวทางการบริหารจัดการ 1. ที่ปรึกษางานพัฒนาบริการปฐมภูมิ คุณณรงค์ เสือบุญ สสอ.เมืองนครราชสีมา คุณสุริยา ค้าสบาย สสอ.สีคิ้ว คุณคมกริช ฤทธิ์บุรี สสอ.โนนไทย 2. งบบริหาร (งบค่าเสื่อม ดร.คมกริช รับผิดชอบประสาน) - ทีม สสอ. สำรวจ Hard ware - ประเมินส่วนขาดเพื่อพัฒนาระบบข้อมูล - ตำบลนำร่องอำเภอละ 1 แห่งเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ 70 แห่ง - รพ.สต.ที่สมัครใจดำเนินการ(ชมรมหมออนามัย) 21 แห่ง 3. กรรมการชมรม หมออนามัย/ผอ. รพ.สต. - ตั้งคณะกรรมการเพื่อ Set ระบบ - จัดทำคู่มือการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิ

เป้าหมายการพัฒนา รพ.สต.คุณภาพ เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ด้าน IT จ.นครราชสีมา ปี 2560 จำนวน 70+21 = 91 แห่ง

PCU รพ., เมืองทอง,เมืองนาท,ชีวึก,โนนเมือง,หนองหัวฟาน,หนองไข่น้ำ เป้าหมายการพัฒนา รพ.สต.เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ด้าน IT( รพสต.คุณภาพ ) ปี 2560 ที่ อำเภอ รพสต.ต้นแบบ (สสอ.) รพสต.ต้นแบบ (สมัครใจ) จำนวน รายชื่อ รพ.สต. 1 เมือง 7 หนองพะลาน,โนนฝรั่ง,มะค่า,ระกาย,ขนายหนองพลวงมะนาว,ศีรษะละเริง 2 มะเริงน้อย,หนองปลิง ครบุรี 3 นาราก, ซับระวิง, สระว่านพระยา โคกกระชาย เสิงสาง หนองตูม, โคกน้อย - 4 ขามทะเลสอ หนองสรวง 5 PCUรพ.,รพสต.บีงอ้อ,โป่งแดง,พันดุง,หนองตะคลอง ปักธงชัย บ้านโคก, บุสมอ, ท่าเยี่ยม บ้านดู่, ปลายดาบ 6 โนนไทย สายออ, ด่านจาก โนนสูง ตลาดแค, หนองหว้า, หนองตะครอง 8 สีดา หนองจะบก 9 ขามสะแกแสง หนองหัวฟาน PCU รพ., เมืองทอง,เมืองนาท,ชีวึก,โนนเมือง,หนองหัวฟาน,หนองไข่น้ำ 10 ลำทะเมนชัย บ้านยาง 11 ชุมพวง ตาจง, หนองหลัก 12 จักราช บ้านบุ, ละกอ รพสต.หินโคน 13 โนนแดง ดอนยาวน้อย

14 วังน้ำเขียว 1 ระเริง - 15 ประทาย 3 หญ้าคา, สำโรง, หนองคู 16 เฉลิมพระ เกียรติ พระพุทธ 17 เมืองยาง ครบุรี 18 ด่านขุนทด 4 ห้วยบง,บ้านพระ,พันชนะ, บ้านแปรง 19 สูงเนิน มะเกลือเก่า 2 หินตั้ง ,หนองตะไก้ 20 สีคิ้ว ใหม่สำโรง,บ้านหัน,คลองไผ่ 21 ปากช่อง สอน.เฉลิมพระเกียรติ, ท่าช้าง 22 เทพารักษ์ วังยายทอง 23 คง ตาจั่น 24 แก้งสนามนาง โนนระเวียง 25 บัวใหญ่ โคกสะอาด,หนองแจ้งน้อย,โนน ทองหลาง, คูขาด 26 พิมาย 7 หนองจิก, มะกอก, หนองระเวียง, บ้าน ซึม นิคม ๑ , หนองขาม , มะค่าระเว 27 หนองบุญมาก หนองหัวแรด, ลุงเขว้า, หนองตะไก้ 28 พระทองคำ ทัพรั้ง 29 บัวลาย 30 ห้วยแถลง ท่าลี่ , หินดาด 31 โชคชัย ท่าจะหลุง, พลับพลา คลินิกเวชฯ (รพ.โชค ชัย) 32 บ้านเหลื่อม ตลุกพลวง,วังโพธิ์ รวม 70

Time line ลำดับ กิจกรรม เป้าหมาย ระยะเวลา สถานที่ 1 Work shop คู่มือการ ทำงานปฐมภูมิ คทง.จาก รพช./ รพ.สต. 23 ธันวาคม 2559 สสจ.นม. 2 ทดสอบระบบ IT นาราก ชมรมหมออนามัย 26 ธันวาคม 2559 รพ.สต.นาราก อ.ครบุรี 3 ประชุม รพ.สต. ต้นแบบ 70+21 แห่ง 10 มกราคม 2560 4 ประชุม รพ.สต.โซน1 135(คน) มกราคม 2560 5 ประชุม รพ.สต.โซน 2 90 (คน) รพ.โนนไทย 6 ประชุม รพ.สต. โซน 3+4 120 (คน) รพ.พิมาย 7 ประชุม รพ.สต.โซน 5 92 (คน) รพ.โชคชัย

ประเด็นการชี้แจง โซน 1-5 - ยกเลิก Family Folder ลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน พัฒนาระบบ IT และ Korat report - เป้าหมายศูนย์การเรียนรู้อำเภอละ 1 แห่ง (70+21 แห่ง) - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการทำงานใน รพ.สต./ติดดาว - ติดดาว /กสค./อสค. - ตำบล Long Term Care - ตำบล/หมู่บ้านจัดการสุขภาพ (บูรณาการ บุหรี่, สุรา, ยาเสพติด, อสว., Stroke, Stemi, ด่านชุมชน)

การพัฒนาคู่มือพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ(วันที่ 23 ธค.59)

การแบ่งกลุ่มพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ(วันที่ 23 ธค.59) วิทยากร ที่ทำงาน 1 ข้อมูลสารสนเทศ IT 1. คุณคมกริช ฤทธิ์บุรี 2. คุณปกรณ์ ริมประนาม สสอ.โนนไทย สสจ.นม. 2 ป้องกันการติดเชื้อ IC 1. คุณพนิดา เขตอริยกุล 2. คุณจันทรัศม์ ตั้งรวมทรัพย์ รพ.ขาม-แสง รพ.ขาม-สอ 3 ระบบบริหารเวชภัณฑ์ 1. คุณสมชาย ภูมิรัชธรรม 2. ภญ.สุทธินี เรืองสุพันธุ์ สสอ.เมืองยาง รพ.โนนสูง 4 ระบบการเยี่ยมบ้านคุณภาพ 1. คุณนิตยา โชตินอก 2. คุณปราณี ประไพวัชรพันธ์ รพ.สต. นาราก 5 ชัณสูตร / สอบเทียบ คุณปิยาวดี ประสงค์สุธน นางสง่า จีบสันเทียะ รพ.ด่านขุนทด 6 ส่งต่อ นพ.อนุพงษ์ ชาวคอนไชย คุณอรจิรา อาจหาญ ผอ.รพ.โนนสูง

ในการให้บริการผู้ป่วยที่ รพ.สต. การใช้ระบบ IT ในการให้บริการผู้ป่วยที่ รพ.สต.

1 2 3 4 5 6 ขั้นตอนระบบ IT ในการให้บริการผู้ป่วยใน รพ.สต. ให้คิวผู้ป่วย ตรวจวัดสัญญาณชีพ 3 COM 1 4 COM 2 5 COM 3 เรียกคิวซักประวัติ คนไข้ใหม่ไม่ทราบสิทธิ์ (ลงทะเบียน บช.1,เช็คสิทธิ์ *กรณีไม่มีบัตร ปชช. ต้องเช็คสิทธิ์หน้าเว็ป เพิ่มรายละเอียดใน บช. 1) - ผู้ป่วยเก่า ให้บันทึกใน One stop services และส่งรักษาตามชนิดของบริการ บริการตรวจรักษา 4.1 ตรวจโรคทั่วไป โดยพยาบาล - เรียกชื่อ-สกุล / ตรวจสอบ - บันทึกการตรวจร่างกาย การรักษา - สั่งยา /หัตถการ /จบการรักษา 4.2 ตรวจโรคเรื้อรังที่ต้องพบแพทย์ - พยาบาลคัดกรองก่อนตรวจรักษาลงบันทึกผล lab และข้อมูลพฤติกรรม - ผู้ป่วยที่ต้องส่งต่อ ให้บันทึกข้อมูลใน thai refer และพิมพ์ใบส่งต่อ - กรณีที่เร่งด่วนให้พิมพ์ใบส่งตัวจาก Hos-xp ให้ผู้ป่วยก่อนหรือพิมพ์ offline ได้เลย จ่ายยา - ตรวจสอบ รง. สปภ 01 ในแต่ละวันว่ามีลูกหนี้ที่ต้องจ่ายเงินกี่คน และตรวจสอบรายชื่อลูกหนี้ - ตรวจสอบใบเสร็จรับเงิน(เก็บค่าบริการตามสิทธิ์ เช่น สิทธิ์ว่าง ชำระเงิน ปกส. UC นอกเขต) - กรณีที่เก็บค่ารักษาไม่ได้ให้ ลงทะเบียนสงเคราะห์ค่ารักษา - ติดสติกเกอร์ใบสั่งยาในแฟ้มเก็บไว้เป็นหลักฐานติดในกระดาษ ที่เลิกใช้แล้วเพื่อประหยัด สิ้นสุดวัน จนท.ส่งเงินประจำวันและบันทึกในแฟ้มรับส่งเงินนำส่งกรรมการฯก่อนนำฝากธนาคาร 6 ให้คำปรึกษา

1 2 3 4 5 6 ให้คิวผู้ป่วย ตรวจวัดสัญญาณชีพ เรียกคิวซักประวัติ COM 1 COM 2 4 COM 3 5 COM 4 เรียกคิวซักประวัติ คนไข้ใหม่ไม่ทราบสิทธิ์ (ลงทะเบียน บช.1, เช็คสิทธิ์ * กรณีไม่มีบัตร ปชช. ต้องเช็คสิทธิ์หน้าเว็ป เพิ่มรายละเอียดใน บช. 1) - ผู้ป่วยเก่า ให้บันทึกใน One stop services และส่งรักษาตามชนิดของบริการ คัดกรองโดยพยาบาล - เรียกชื่อ-สกุล / ตรวจสอบ ตรวจโรคเรื้อรังที่ต้อง พบแพทย์ พยาบาลคัดกรอง ก่อนตรวจรักษาลงบันทึก ผล lab และข้อมูล พฤติกรรม - ผู้ป่วยที่ต้องส่งต่อให้ บันทึกข้อมูลใน thai refer และพิมพ์ใบส่งต่อ - กรณีที่เร่งด่วนให้พิมพ์ใบ ส่งตัวจาก Hos-xp ให้ ผู้ป่วยก่อนหรือพิมพ์ offline ได้เลย ตรวจรักษาโดยแพทย์ 4.1 ตรวจโรคทั่วไป - บันทึกการตรวจร่างกาย การรักษา - สั่งยา /หัตถการ / จบการรักษา จ่ายยา - ตรวจสอบ รง. สปภ 01 ในแต่ละวันว่ามีลูกหนี้ที่ต้องจ่ายเงินกี่คน และตรวจสอบรายชื่อลูกหนี้ - ตรวจสอบใบเสร็จรับเงิน(เก็บค่าบริการตามสิทธิ์ เช่น สิทธิ์ว่าง ชำระเงิน ปกส. UC นอกเขต) - กรณีที่เก็บค่ารักษาไม่ได้ให้ ลงทะเบียนสงเคราะห์ค่ารักษา - ติดสติกเกอร์ใบสั่งยาในแฟ้มเก็บไว้เป็นหลักฐานติดในกระดาษ ที่เลิกใช้แล้วเพื่อประหยัด สิ้นสุดวัน จนท.ส่งเงินประจำวันและบันทึกในแฟ้มรับส่งเงินนำส่งกรรมการฯก่อนนำฝากธนาคาร 6 ให้คำปรึกษา

กระบวนการที่ 1.ให้คิวผู้ป่วย รายละเอียดการบันทึก ผู้ป่วยหยิบคิวเอง (กรณีหยิบคิวแล้วไม่อยู่ = ให้ต่อคิวหลังจากจนท.เรียกคิวถัดไป) ทำใบบันทึกคิวที่เรียกข้าม แยกคิวผู้ป่วยตามชนิดบริการ (คิวผู้ป่วยปกติทั่วไป และคิวผู้ป่วยเรื้อรังที่นัดมารักษาต่อ)

เอกสาร/วัสดุ บัตรคิว 2 ชุด ลักษณะของบัตรคิว ขนาดเหมาะสมเห็นชัดเจน 2. แสดงให้เห็นว่าผู้รับริการต้องคืนเมื่อถูกเรียกเข้าตรวจรักษา 3. คืนบัตรคิวเมื่อสิ้นสุดการรับบริการ ณ.จุด Exit care 4. ใช้ประโยชน์จากบัตรคิวระหว่างรอ 5. ประหยัด ป้ายบอกขั้นตอนการบริการ

- ความดันโลหิต กระบวนการที่ 2. ตรวจวัดวัดสัญญาณชีพ รายละเอียดการบันทึก - ชั่งน้ำหนัก - วัดส่วนสูง - วัดรอบเอว รายละเอียดการบันทึก ให้ผู้ป่วยหรือญาติ และจดบันทึก หรือสลิปจากเครื่องไว้ให้จนท.ลงบันทึก - สามารถให้จิตอาสาช่วยบริการ

เอกสาร/วัสดุ - เครื่องวัดแบบสอดแขน /แบบ Manual - แบบบันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง เสียบบัตรคิว - เครื่องชั่งน้ำหนัก/ที่วัดส่วนสูง - สายวัดรอบเอว

กระบวนการที่ 3. เรียกคิวซักประวัติ เบื้องต้น (โดยเจ้าหน้าที่หรือ พสอ.) รายละเอียดการบันทึก - คนไข้ใหม่ไม่ทราบสิทธิ์ (ลงทะเบียนผู้ป่วยบัญชี 1 และ เช็คสิทธิ์การรักษา *กรณีไม่มีบัตรประชาชน ต้องเช็คสิทธิ์หน้าเว็ป เพิ่มรายละเอียดในบัญชี 1) - ผู้ป่วยเก่าให้บันทึกใน One stop services และส่งรักษา ตามชนิดของบริการ

เอกสาร/วัสดุ - Use Name / Password บัตรประชาชนผู้รับบริการ (ขอให้ จนท.เวร เป็นนายทะเบียน ทุกคนเพื่อสามารถตรวจสอบสิทธิ์ได้ทั้งใน/นอกเวลาราชการ) - ไมค์และลำโพง - คอมพิวเตอร์ชุดที่ 1

กระบวนการที่ 4. รับบริการตามประเภทบริการ - ตรวจรักษาทั่วไป - WCC - NCD - ทันตกรรม - แพทย์แผนไทย รายละเอียดการบันทึก ห้องตรวจรักษา 4.1 ตรวจโรคทั่วไป/โดยพยาบาล - เรียกชื่อ-สกุล / ตรวจสอบ - บันทึกการตรวจร่างกาย การรักษาให้ครบถ้วน - สั่งยาและหัตถการ และจบการรักษา

เอกสาร/วัสดุ 4.2 ตรวจโรคเรื้อรังที่ต้องพบแพทย์ - พยาบาลคัดกรองก่อนตรวจรักษาลงบันทึก ผลlabและข้อมูลพฤติกรรมผู้ป่วยโดยละเอียด - ผู้ป่วยที่ต้องส่งต่อให้บันทึกข้อมูลใน thai refer และพิมพ์ใบส่งต่อให้ผู้ป่วยถือไป - กรณีที่เร่งด่วนให้พิมพ์ใบส่งตัวจาก Hos-xp ให้ผู้ป่วยก่อนหรือพิมพ์ offline ได้เลย เอกสาร/วัสดุ - อุปกรณ์เครื่องมือตามมาตรฐานของคลินิกบริการแต่ละประเภท - คอมพิวเตอร์ชุดที่ 2 พร้อม printer - Template การบันทึกเพิ่มเติมผู้ป่วยเรื้อรัง - เพิ่มประวัติการเจ็บป่วยในอดีต - คู่มือ ICD - คู่มือภาษาอาเซียน

กระบวนการที่ 5. จ่ายยา 5.1 เรียกชื่อผู้ป่วย - ตรวจสอบก่อนพิมพ์ใบสั่งยาและฉลากยา 5.2 ผู้ป่วยเซ็นรับยา 5.3 ผู้จ่ายยาเซ็นต์จ่ายยา 5.4 เก็บเงินตามสิทธิ์และเขียนใบเสร็จรับเงินให้ผู้ป่วย 5.5 กรณีสิทธิ์ว่างที่ไม่สามารถจ่ายค่ารักษาได้ ให้เซ็นต์ใบขออนุเคราะห์ค่ารักษาไว้

รายละเอียดการบันทึก จุดบริการสั่งยาเป็นจุดที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน การเงิน,พัสดุ มีระบบบันทึกที่สามารถตรวจสอบได้ ดังนี้ - ตรวจสอบรายงานจาก สปภ 01 ในแต่ละวันว่ามีลูกหนี้ ที่ต้องจ่ายเงินกี่คน และตรวจสอบรายชื่อลูกหนี้จากทะเบียนผู้ป่วย - ตรวจสอบใบเสร็จรับเงิน(เก็บค่าบริการตามสิทธิ์รักษา เช่น สิทธิ์ว่าง ชำระเงิน ปกส. UC นอกเขตบริการ) - ในกรณีที่เก็บค่ารักษาพยาบาลไม่ได้ให้ลงทะเบียนขอสงเคราะห์ ค่ารักษาไว้ - ติดสติกเกอร์ใบสั่งยาในแฟ้มเก็บไว้เป็นหลักฐานติดในกระดาษ ที่เลิกใช้แล้วเพื่อประหยัด - สิ้นสุดวันให้เจ้าหน้าที่รับส่งเงินประจำวันตรวจสอบการรับเงิน และบันทึกในแฟ้มรับส่งเงินไว้เป็นหลักฐานเพื่อนำไปบันทึก และนำส่งกรรมการผู้เก็บรักษาเงินก่อนนำฝากธนาคารต่อไป

คอมพิวเตอร์ชุดที่3 เอกสาร/วัสดุ เครื่องปริ้นฉลากยา สติ๊กเกอร์ยา แฟ้มบัญชีลูกหนี้ ใบเสร็จรับเงิน เก็บใบสั่งยาประจำวัน - ทะเบียนรับ-ส่งเงินประจำวัน (คำสั่งที่เกี่ยวข้องและมาตรฐานงาน เภสัชกรรมต้องมีระบบจัดการร่วมกัน ในCup)

กระบวนการที่ 6. ให้คำปรึกษาก่อนกลับบ้าน (แยกให้บริการ1คนในวันบริการคลินิกพิเศษสามารถ เป็นคนเดียวกัน ณ จุดจ่ายยาได้เก็บบัตรคิวคืน รายละเอียดการบันทึก - ตรวจสอบสมุดนัดหมายและยาก่อนกลับ - ลงบันทึกเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ในสมุดประจำตัวผู้ป่วย - บันทึกปัญหาที่พบไว้สำหรับติดตามแก้ไขและ Conference ในกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อนต้องติดตามเยี่ยมบ้าน

เอกสาร/วัสดุ - โต๊ะแยกที่สามรถพูดคุยได้ - ทะเบียนให้คำปรึกษา - สมุดนัดหมาย

ตัวอย่างบริหารบุคลากรในการให้บริการประจำวัน  1.มอบหมายงาน จนท.ประจำวัน แบ่งสองทีมหมุนเวียนกัน ทีมให้บริการใน รพสต. จำนวน 3 คน(พยาบาล จพง. พสอ.) จุดที่ 1 ลงคิวโดยพสอ.(สอนให้พสอ.บันทึกข้อมูลHosxp) จุดที่ 2 จุดตรวจโดยพยาบาล/แพทย์ และบันทึกข้อมูลการตรวจด้วยตนเอง จุดที่ 3 จุดจ่ายยาโดย นวก./จพง/ผู้ช่วยเภสัชหรือเภสัช 1คน 2.ทีมเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน และรณรงค์ในชุมชน จำนวน 3 คน (พยาบาล นวก.พนักงานขับรถ)ออกให้บริการตั้งแต่เช้าทุกวัน เพื่อให้กลับมาบันทึกข้อมูลในช่วงบ่ายได้ทัน) เน้นให้บริการในหมู่บ้านที่ตนเองรับผิดชอบก่อน

  3. สำหรับทันตกรรม และแพทย์แผนไทย จะแยกออกไป เฉพาะตามลักษณะบริการ สำหรับวันที่มีคลินิกพิเศษ จะเพิ่มผู้ให้บริการในแต่ละคลินิกดังนี้ - คลินิกโรคเรื้อรัง เพิ่ม พยาบาลและเภสัช - WCC เพิ่ม จนท.1คน สำหรับให้บริการผู้ป่วยทั่วไป 2 คน บริการที่ WCC แบ่งเป็น คนที่ 1 ตรวจคัดกรองพัฒนาการ คนที่ 2 บริการเคลือบฟลูออไรด์และฉีดวัคซีน 2. งานบริหาร ผอ.จะดูแลเสริม และจัดให้มีจิตอาสา ช่วยในวันรณรงค์

ปัญหาอุปสรรค 1.คอมพิวเตอร์เก่าชำรุดและขาดเครื่องprint - การแก้ไข ให้ทุกรพสต.สำรวจครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ในรพสต.เสนอ CUP 2.ระบบ password ไม่อนุญาตตรวจสอบสิทธิ์ - การแก้ไข ควรอนุญาตให้ จนท.เวร สามารถตรวจสอบสิทธิ์ได้ 3.เจ้าหน้าที่ในรสต.ยังไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ทุกคน - ประชุมชี้แจงและอบรมบุคคลากรทุกระดับ 4.ไฟฟ้าดับ ควรแก้ไข โดยมีเครื่องสำรองไฟฟ้า เมื่อไฟดับที่ใช้งานได้ 5.การเชื่อมโยงฐานข้อมูล HosXP รพ. กับ HosXP PCU ยังไม่เชื่อมโยงฐานข้อมูลกัน

ขอขอบคุณ - เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิอำเภอครบุรี - เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิอำเภอครบุรี - รพ.สต.นาราก เป็น พท.ศึกษาดูงาน - คุณปราณี ประไพวัชรพันธ์ ผอ.รพ.สต.นาราก คุณสุพรรณี ชะเอมน้อย พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ คุณนริศรา สุบงกช จพ.สาธารณาสุข และทีมสุขภาพ รพ.สต.นารากทุกท่าน คุณจันทร์จิรา ไล่กระโทก ผอ.รพ.สต.สระว่านพระยา, คุณสิทธิกร ศาสตร์กลาง ผอ.รพ.สต.โคกกระชาย คุณนที ศุภลักษณ์ ผอ.รพ.สต.ซับระวิง