ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Advertisements

Impressive SAR.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
รูปแบบการกำหนดรหัส เอกสาร/หลักฐานตามตัวบ่งชี้
แผนการดำเนินงานของทีม บริหาร ด้านการพัฒนาคุณภาพ 1.
วาระที่ 2.1 รายงานผลการ ดำเนินงานของ หน่วยงานสนับสนุน.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
Hands-on Writing Workshop. O bjectives  เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย สู่ ระดับผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติทุกระดับ นักวิจัย และประชาชน  เพื่อพัฒนาทักษะด้านการวิจัยให้กับบุคลากร.
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนนวมราชานุสรณ์
การจัดทำรูปเล่มรายงาน ก.พ.ร.
แสดงเพียง บางส่วน แจ้งให้ ภาควิชา / หน่วยงาน ส่งวันที่ พร้อม ให้คณะเข้า ตรวจประเมินฯ แจ้งกรรมการตรวจ ประเมินฯ ของคณะ ส่งวันที่ และรายชื่อ หน่วยงานที่พร้อมฯ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด BSC สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น.
ระบบที่พัฒนาสำเร็จแล้ว 1) ระบบการลาออนไลน์ 2) ระบบสายตรง 3) ระบบเอกสารอ้างอิง 4) ระบบ TOR 5) ระบบ e-Project 6) ระบบแจ้งเตือน e- Manage 7) ระบบ e-Meeting.
เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ.
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ ถูกต้องและต่อเนื่อง นำสาระท้องถิ่นมาบูรณาการกับ สาระแกนกลาง ปรับโครงสร้างเวลาเรียนตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ดำเนินก.
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
ความแตกต่างแสงที่ทำให้ได้ภาพที่แตกต่างกัน
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
ABI/INFORM Collection
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Roadmap AUNQA หลักสูตร
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
ABI/INFORM Collection
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
รายงานการประเมินตนเอง
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภคการตลาดบนอินเตอร์เน็ต และการโฆษณา
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
Homepage.
การควบคุม (Controlling)
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
เขียนบทความวิจัยอย่างไร ในวารสารวิชาการนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ปฎิรูปการดำเนินงาน ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และมาตรฐาน กศน. โดย สำนักงาน กศน.จังหวัดกลุ่มหล่ายดอย

แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) “มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสร้างโอกาสทางการศึกษาให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้คนไทยทุกกลุ่มทุกวัยมีคุณภาพ มีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีจิตสำนึกของความเป็นไทย มีความเป็นพลเมืองที่ดี ตระหนักและรู้คุณค่าของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองต่อทิศทางการพัฒนาประเทศ” วิสัยทัศน์ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เป็นคนดี มีความสุข มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในเวทีโลก”

แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) เป้าหมายหลัก 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กำลังคนได้รับการผลิตและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ 3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่ายั่งยืน 4. คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน วิสัยทัศน์ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม”

ความสำคัญของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ระบบการบริหารจัดการการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบบริหาร / สารสนเทศ เพื่อการบริหาร การกำกับ ดูแล ระบบรายงาน ระบบนิเทศ ภายใน การจัดการ ศึกษานอก ระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัย กำหนดมาตรฐาน คุณภาพ การประกันคุณภาพ การวางแผนพัฒนาการจัด การศึกษา / การจัดทำ แผนปฏิบัติงานประจำปี การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ระบบการประเมินผล การรายงานผล การปฏิบัติงานประจำปี การประเมินตนเอง

การประกันคุณภาพการศึกษาของ กศน. สภาพปัญหา การประกันคุณภาพการศึกษาของ กศน. ?

สภาพปัญหาเดิมของการประกันคุณภาพการศึกษาของ กศน. ด้านมาตรฐานและตัวบ่งชี้ 1. ตัวบ่งชี้มีจำนวนมากบางส่วนไม่สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน กศน. (6 มาตรฐาน 27 ตัวบ่งชี้) 2. เกณฑ์การประเมินเป็นเกณฑ์การประเมินที่วัดคุณภาพผู้เรียนรายบุคคลเพื่อนำมาคำนวณเป็นค่าร้อยละ จึงทำให้ต้องทำข้อมูล เพื่อการคำนวณ และจัดทำหลักฐานประกอบ จำนวนมาก เช่น  ร้อยละของผู้เรียนมีการตรวจสุขภาพร่างกายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง  ร้อยละของผู้เรียนมีพัฒนาการด้านสุขภาพดีขึ้น  ร้อยละของผู้เรียนลด ละ เลิกจากปัญหาทางเพศ สิ่งเสพติด 3. เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายในและภายนอกไม่สัมพันธ์กันอย่างแท้จริง

สภาพปัญหาเดิมของการประกันคุณภาพการศึกษาของ กศน. (ต่อ) ด้านผู้ประเมินและการประเมิน 4. คุณภาพของผู้ประเมินมีมาตรฐานไม่เท่ากัน และขาดความเข้าใจในวิชาการ ด้านการประเมิน ไม่สามารถวิเคราะห์ และเสนอแนะผลการประเมินได้ตรงประเด็นและเป็นรูปธรรม ที่สอดคล้องกับบริบท และข้อจำกัดของสถานศึกษา ด้านผลการประเมินและการรายงานผลการประเมิน 5. ผลการประเมินไม่สะท้อนคุณภาพที่แท้จริง และบางส่วนขาดความน่าเชื่อถือ เช่น สถานศึกษาบางแห่งเป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ แต่กลับได้รับผลการประเมินต่ำกว่าสถานศึกษาที่ไปช่วยพัฒนา และผลการประเมินบางส่วนขัดแย้งกับสภาพความเป็นจริงของสถานศึกษา 6. ความล่าช้าในการแจ้งผลการประเมินอย่างเป็นทางการ ทำให้การดำเนินงานตามข้อเสนอแนะไม่เป็นปัจจุบัน และการเสนอผลการประเมินโดยวาจา ไม่สอดคล้องกับผลการประเมินที่แจ้งมาอย่างเป็นทางการ/ผลการประเมินภายนอก

การแก้ไขปัญหา จากแบบเดิม สู่ แบบใหม่ การแก้ไขปัญหา จากแบบเดิม สู่ แบบใหม่ ปัญหา การแก้ไข ด้านมาตรฐานและตัวบ่งชี้ 1. ลดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ 2. พัฒนาตัวบ่งชี้โดยการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาที่ต้องพัฒนาระบบประกันคุณภาพ 3. ใช้ตัวบ่งชี้เดียวกันทั้งการประกันคุณภาพภายในและภายนอก 4. ปรับเกณฑ์การประเมินเป็นการประเมินสถานศึกษา ในภาพรวม โดยใช้ประเด็นคำถาม

การแก้ไขปัญหา จากแบบเดิม สู่ แบบใหม่ (ต่อ) การแก้ไขปัญหา จากแบบเดิม สู่ แบบใหม่ (ต่อ) ปัญหา การแก้ไข ด้าน ผู้ประเมินและการประเมิน 1. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินของสถานศึกษา มาจากหลายภาคส่วน 2. ประเมินจากสภาพจริงของการดำเนินงาน เน้นการประเมินเชิงประจักษ์ 3. ประเมินร่วมกันทั้งสถานศึกษาไม่แยกประเมิน เป็นรายมาตรฐาน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาใหม่ เดิม ใหม่ มาตรฐาน 6 มาตรฐาน 27 ตัวบ่งชี้  เกณฑ์ 3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้  แนวคำถาม วิธีการประเมิน 1. ใช้เกณฑ์การ ประเมินที่เป็น เชิงปริมาณ 2. เน้นการตรวจสอบ เอกสาร และร่องรอย จากผลการดำเนินงาน ตามรายมาตรฐาน ตัว บ่งชี้ 3. การแบ่งแยกส่วน รับผิดชอบ และแบ่ง การประเมินตามราย มาตรฐาน 1. ประเมินโดยใช้ประเด็นคำถาม เพื่อ สะท้อนความเข้าใจ และผลการ ดำเนินงาน 2. การรายงานข้อมูล การสัมภาษณ์ และการสังเกต และตรวจสอบร่วมกับ หลักฐานตามสภาพจริง 3. การประเมินแบบ พิชญพิจารณ์ Peer Review (ประเมินโดยบุคคล/กลุ่ม คนที่มีความรู้คล้ายกับผู้ปฏิบัติ) 4. เกณฑ์การประเมินเชื่อมโยงกันทั้ง ระบบ ทั้งปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต

การดำเนินงานด้านการประเมินคุณภาพ การประเมินคุณภาพภายใน 1. การประเมินตนเอง (SAR) 2. การประเมินโดยต้นสังกัด กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายในสำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 (ข้อ 4 และข้อ 5) (ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบฯ 2551) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 การประเมินคุณภาพ ภายนอก (โดย สมศ.) กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 (ข้อ 3 และข้อ 4) (ภายใต้ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 แก้ไข 2545)

กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555

กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555

กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560

ระบบการประกันคุณภาพ รายงาน ระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อตัดสิน/รับรองมาตรฐานและ มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา สถานศึกษา 1. การประเมินคุณภาพภายใน 1. การประเมินคุณภาพภายนอก 2. การติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพ การศึกษา 2. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 3. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา SAR ต้นสังกัด

การศึกษานอกระบบและการศึกษา มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย

1. มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 3 มาตรฐาน 1. มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ 2. มาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษา/ การให้บริการ 3. มาตรฐานประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา

เน้น ที่ผลผลิตหรือผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา และการให้บริการของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ เน้น ที่ผลผลิตหรือผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา และการให้บริการของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ประกอบด้วย 7 ตัวบ่งชี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ตัวบ่งชี้ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต ตัวบ่งชี้ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ (ต่อ) ประกอบด้วย 7 ตัวบ่งชี้ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ 1.4 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยี ได้อย่างเหมาะสม

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ (ต่อ) ประกอบด้วย 7 ตัวบ่งชี้ การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย

เน้น คุณภาพ (ครู วิทยากร ผู้ให้บริการ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาและการให้บริการ เน้น คุณภาพ (ครู วิทยากร ผู้ให้บริการ หลักสูตร กระบวนการจัดการศึกษา/กิจกรรม สื่อ หลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ)

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ประกอบด้วย 9 ตัวบ่งชี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพของหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ (ต่อ) ประกอบด้วย 9 ตัวบ่งชี้ การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

เน้น ผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา เน้น ผู้บริหารสถานศึกษา (หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล ภาคีเครือข่าย คณะกรรมการสถานศึกษา)

มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ตัวบ่งชี้ 3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ กับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ทุกระดับ แผนการศึกษาแห่งชาติ (รัฐบาล) นโยบาย/จุดเน้น ศธ. (กระทรวง ศธ.) สำนักงาน กศน. (สถานศึกษา) ระบบการประเมิน ประเมินเพื่อพัฒนา ประเมินเพื่อตรวจติดตามผล จุดมุ่งหมายสูงสุด

กศน. เราจะร่วมสร้างคุณภาพ ไปด้วยกัน นะครับ