HRH Transformation การปฏิรูปกำลังคนด้านสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Yamaha Electrics Co.,Ltd.
Advertisements

การวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายสนับสนุน
แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
49% 30-40ปี ชำนาญการ ปี
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๑ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แผนยุทธศาสตร์ CHRO เขตสุขภาพที่ 12 ปี2561
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
ITA Integrity and Transparency Assessment
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
ชิ้นงานที่ 1 ( 10 คะแนน ) ( งานเดี่ยว ) นักเรียนเขียนผังงาน Flowchart แสดงกระบวนการดำเนินงานในการสร้างเว็บไซต์
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
Line Manager is Leader.
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
คำอธิบาย รายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 รหัสวิชา ง23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
โดย..นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์
คณะที่ 3 : การบริหารทรัพยากรมนุษย์
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
ยุทธศาสตร์กำลังคนกระทรวงสาธารณสุขและ แนวทางจัดทำแผนกำลังคนระดับจังหวัด
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
CEO, CCO MIS MIS MIS ณ 2 พค 60 จังหวัดพิจิตร สังคมสุขภาพดี CIPO CIPO
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
การใช้งานโปรแกรม Happinometer
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HRH Transformation การปฏิรูปกำลังคนด้านสาธารณสุข

House Model หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: People Excellence แผนงาน การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ โครงการ HRH Transfomation แผนงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 1. ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ (ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ) เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 2. ร้อยละของหน่วยงานที่เป็นองค์กรสุขภาวะ ร้อยละ 65 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน บุคลากรสาธารณสุข เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเป้าหมายการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข เพื่อรองรับการดูแลระบบสุขภาพของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยกลไกดังกล่าวจะต้องมีระบบการจัดการข้อมูลด้านกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามมาตรฐานงานด้าน HR เพื่อสนับสนุนการวางแผนกำลังคนและบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข ให้บรรลุเป้าหมายของการ มีบุคลากรสาธารณสุขที่เพียงพอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งมีความสุขในชีวิตและการทำงาน ดังนั้น สป.สธ. จึงต้องมีการบูรณาการวางแผนร่วมกันระหว่างหน่วยงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานกำลังคนอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ (HRP) Strategy 2 ผลิตและพัฒนากำลังคนอย่าง เพียงพอและมีคุณภาพ (HRD) Strategy 3 บริหารกำลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุดดึงดูดและธำรงรักษากำลังคนคุณภาพ (HRM) Strategy 4 สร้างภาคีเครือข่ายก าลังคน ด้านสุขภาพให้เข้มแข็งและ ยั่งยืน (HRN) กิจกรรมหลัก - หน่วยงานในสังกัด สธ. อัพเดตฐานข้อมูลให้เป็น ปัจจุบัน - สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรอย่างต่อเนื่อง ตาม service plan - บูรณาการเพื่อขับเคลื่อนเชิง นโยบายการบริหารจัดการกำลังคน - หน่วยงานดำเนินงานด้าน HR ตามมาตรฐานอย่าง ต่อเนื่อง - จัดทำแผนกำลังคน ด้านสุขภาพ (Blueprint HRP) - หน่วยงานจัดทำแผนพัฒนากำลังคน ด้านสุขภาพในระดับหน่วยงาน - พัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการและการบริหารค่าตอบแทนให้ เป็นไปตามมาตรฐานงาน HR - สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ - หน่วยงานมีการวางแผนและบริหารกำลังคนสอดคล้องกับภารกิจและตอบสนองความต้องการของประชาชน - พัฒนาศักยภาพกำลังคนสู่ความเป็นมืออาชีพ - ทำแบบประเมิน Happinometer และ HPI - พัฒนาศักยภาพกำลังคนสุขภาพภาคประชาชน - ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ - ส่งเสริมความก้าวหน้าในอาชีพ - เพิ่มประสิทธิภาพการรับรู้ค่านิยมองค์กรกระทรวงสาธารณสุข (Core value :MOPH) - จัดการความสุขในองค์กร ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 มีการบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ไตรมาส 2 มีการกำหนดแผน/กิจกรรม เพื่อพัฒนาบุคลากร เสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ ไตรมาส 3 1. ดำเนินการตามแผน 2. ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน ไตรมาส 4 1. หน่วยงานตัวอย่างจากการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข อย่างน้อย จังหวัดละ 1 หน่วยงาน 2. อัตราการคงอยู่ของ บุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 94

ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนี ความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ 2. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) 3. ร้อยละของบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่ ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ ที่กำหนด

HRH Transformation การปฏิรูปกำลังคนด้านสาธารณสุข นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ; เน้นพัฒนาฐานข้อมูลด้านกำลังคน ควบคุมกำกับการบริหาร งบประมาณด้าน กำลังคน (พตส./ฉ.๑๑) ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โครงการ ; พัฒนาฐานข้อมูลด้านกำลังคน กิจกรรม รองรับนโยบายที่สำคัญ ; - กำหนดผู้รับผิดชอบข้อมูลด้านกำลังคนที่ชัดเจน (ทุกระดับ) - ประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพ - กำหนดแผนฝัง (Flowchart) ขั้นตอนการดำเนินงานข้อมูลด้านกำลังคน - กำหนดให้มีรายงานผลการเคลื่อนไหวของข้อมูลกำลังคน - เชื่อมข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพทุกฐานข้อมูล จากทุกหน่วยงาน - จัดทำรายงานภาพรวมกำลังคนด้านสุขภาพ งบประมาณ ; หน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ ; สสจ. , รพศ./รพท. , รพช. , สสอ. , รพ.สต.

HRH Transformation การปฏิรูปกำลังคนด้านสาธารณสุข นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ; เน้นพัฒนาฐานข้อมูลด้านกำลังคน ควบคุม กำกับการบริหาร งบประมาณ ด้านกำลังคน (พตส./ฉ.๑๑) ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โครงการ ; ควบคุมกำกับการบริหารงบประมาณด้าน กำลังคน กิจกรรม รองรับนโยบายที่สำคัญ ; - กำหนดผู้รับผิดชอบควบคุมกำกับการ บริหารงบประมาณที่ชัดเจน - ประเมินระบบการควบคุมกำกับการบริหาร งบประมาณด้านกำลังคน - กำหนดแผนฝัง (Flowchart) ขั้นตอนการบริหาร งบประมาณด้านกำลังคน - กำหนดให้มีรายงานผลการเคลื่อนไหวของ งบประมาณด้านกำลังคน - จัดทำรายงานภาพรวมของการบริหารงบประมาณ ด้านกำลังคน งบประมาณ ; หน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ ; สสจ. , รพศ./รพท. , รพช. , สสอ. , รพ.สต.