เวียดนาม
สารบัญ สกุลเงิน 23 ความเป็นมา 1 การปกครอง 25 เมืองหลวง 7 วัฒนธรรม 27 ธงชาติ 9 สถานที่ท่องเที่ยว 33 ดอกไม้ประชาติ 11 สัตว์ประจำชาติ 13 อาหารประจำชาติ 17 ชุดประจำชาติ 19 ภาษาประจำชาติ 21
ความเป็นมาของเวียดนาม 2 1 ประวัติความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อนกลับไปได้มากกว่า 4000 ปีก่อน[1] การค้นพบทางโบราณคดีจากปี พ.ศ. 2508 ได้ค้นพบซากของสอง hominins ซึ่งเป็นมนุษย์โบราณ สายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว โดยมีเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับ Homo erectusทำให้สามารถย้อนไกลไปยุค สมัยไพลสโตซีนตอนกลาง อายุประมาณ 730,000-125,000 ปี เวียดนามโบราณจึงเป็นที่ตั้งของ ความเป็นมาของเวียดนาม เวียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวงคือ ฮานอย ประชากรส่วนใหญ่ของชาวเวียดนาม คือ ชาวเวียดนาม มีอยู่ประมาณร้อยละ 86 นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยอีก ได้แก่ โท้ ไต ม้ง เขมร และอื่นๆ ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ส่วนภาษาอื่นๆที่นิยมใช้ คือ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาของแต่ละชนชาติ
3 4 เพื่อหาวิธีที่เพื่อป้องกันน้ำท่วมของแม่น้ำแดง, เพื่อให้ความร่วมมือในการสร้างระบบไฮดรอลิค แลกเปลี่ยนการค้าและการต่อสู้กับผู้รุกรานต่างชาติ นำไปสู่การสร้างรัฐเวียดนามครั้งแรก ประมาณ ศตวรรษที่ 29 ก่อนคริสตกาล[4][5] อีกส่วนหนึ่งที่มีอิทธิพลอย่างแท้จริงของประวัติศาสตร์ในเวียดนามเกิดขึ้นในช่วงปลายยุคสัมฤทธิ์ เมื่อวัฒนธรรมดงเซินก้าวหน้าทางอารยธรรมอย่างมาก ด้วยภูมิประเทศที่แปลกประหลาด หนึ่งในอารยธรรมและสังคมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ทำให้ชาวเวียดนามโบราณเป็นหนึ่งในคนกลุ่มแรกของโลกที่ทำการเกษตร[2][3] บริเวณหุบเขาแม่น้ำแดงได้สร้างธรรมชาติภูมิศาสตร์และหน่วยทางเศรษฐกิจ ล้อมรอบไปทางทิศเหนือและทิศตะวันตกด้วยภูเขาและป่า ไปทางทิศตะวันออกติดกับทะเลและทิศใต้ติดกับดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง ชาวเวียดนามโบราณจำเป็นที่จะต้องมีผู้มีอำนาจคนเดียว
แผนที่ประเทศเวียดนาม 5 6 ของเวียดนามทำให้ประเทศที่ยากลำบากในการถูกโจมตีรุกรานโดยต่างชาติ ซึ่งเป็นเหตุผลที่ประเทศเวียดนามภายใต้กษัตริย์หุ่ง เวือง เป็นรัฐอิสระเป็นระยะเวลานานและปกครองตัวเอง พวก ซิ๊ก ตีและราชวงศ์ฉินของชาวจีนฮั่น เป็นชนต่างชาติกลุ่มแรกที่รุกรานเวียดนาม แต่ชาวเวียดนามโบราณสามารถกอบกู้ชาติได้อย่างรวดเร็วหลังจากการรุกราน แผนที่ประเทศเวียดนาม
7 8 กรุงฮานอย ถูกสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1010 (พ.ศ. 1553) และเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรไต้เวียด ก่อนที่จะใช้เมืองเว้ในช่วงราชวงศ์เหงียน และกลับมาใช้ฮานอยเป็นเมืองหลวงอีกครั้งในยุคที่เป็นอาณานิคมฝรั่งเศส หลัง ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) เป็นต้นไป ด้วยเหตุนี้จึงนับได้ว่า ฮานอยเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเมืองหลวงเวียดนามเกือบพันปีเลยทีเดียว เมืองหลวง ฮานอย เมืองหลวงของเวียดนาม มีพื้นที่ 3,344 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 6.5 ล้านคน นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศรองจาก โฮจิมินห์ ซิตี้ ถือว่าเป็นเมืองที่แปลกมาก เพราะโดยทั่วไปปกติเมืองหลวงมักเป็นเมืองที่มีประชากรมากสุด (ไม่นับเนปิดอว์ เพราะเป็นเมืองที่สร้างใหม่)
ให้หมายถึงการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพและความสำเร็จรุ่งเรือง 9 10 ให้หมายถึงการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพและความสำเร็จรุ่งเรือง ธงชาติเวียดนามหรือธงแดงดาวเหลือง วันชาติ ของประเทศเวียดนามตรงกับวันที่ 2 กันยายน ซึ่งนอกจากจะเป็นวันประกาศอิสรภาพของเวียดนามแล้ว ยังตรงกับวันที่โฮจิมินห์ วีรบุรุษผู้เป็นที่รักของชาวเวียดนามเสียชีวิตในเวลาต่อมาด้วย ธงชาติ ธงชาติของเวียดนามเป็นรูปดาวสีเหลืองอยู่กลางผืนธงสีแดง ดาวสีเหลือง แต่เดิมแฉกทั้งห้าของดวงดาวหมายถึง ชนชั้นต่างๆในสังคมเวียดนาม คือ นักปราชญ์ ชาวนา ช่างฝีมือ พ่อค้า และทหาร แต่ปัจจุบัน หมายถึง พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม สีแดงของพื้นธง เดิมหมายถึงการต่อสู้เพื่อกู้เอกราชของชาวเวียดนาม แต่ภายหลังการรวมชาติในปี พ.ศ. 2519 ถูกตีความใหม่
11 12 ดอกไม้ประจำชาติ ดอกไม้ประจำชาติเวียดนาม เป็นดอกไม้ที่คนไทยคุ้นเคยอย่าง ดอกบัว (Lotus) เป็นดอกไม้ประจำชาติ โดยดอกบัวเป็นที่รู้จักกันในนาม "ดอกไม้แห่งรุ่งอรุณ" เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ ความผูกพัน และการมองโลกในแง่ดี ดอกบัวจึงมักถูกกล่าวถึงในบทกลอนและเพลงพื้นเมืองของชาวเวียดนามอยู่บ่อย ครั้ง ดอกบัว
13 14 ควายเป็นสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนมและมีแกนสันหลังแข็งแรง ชาวอาเซียนหลายคนย่อมทราบดีแน่แท้ว่า มันเป็นสัตว์เพื่อเกิดมาคู่กับการทำเกษตรกรรม โดยเฉพาะงานเกษตรกรรมของประเทศเอเชียบ้านเราหลากหลายประเทศ นอกจากเป็นสัตว์ที่ชาวนามักนิยมเลี้ยงไว้สำหรับเป็นแรงงานทั้งในการทำไร่นาแล้ว ยังใช้เพื่อการขนส่งสิ่งของหรือใช้เป็นพาหนะ เมื่อควายอายุมากขึ้นก็จะถูกฆ่าเพื่อนำเนื้อของมันมากินเป็นอาหาร เรียกได้ว่าควายหรือกระบือ สัตว์ประจำชาติ ควาย หรือ กระบือ (Buffalo) สัตว์ประจำชาติเวียดนามควาย นอกจากเป็นสัตว์ประจำชาติอาเซียนอย่างฟิลิปปินส์แล้ว ยังเป็นสัตว์ประจำชาติเวียดนามอีกด้วย เนื่องจากชาวเวียดนามสมัยก่อนส่วนใหญ่ก็มีอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก โดยมักจะปลูกข้าวจึงจำเป็นต้องใช้ควายในการช่วยไถนา พบได้ทั่วไปในทางภาคใต้ของประเทศ และนอกจากควายแล้ว ประเทศอาเซียนอย่างเวียดนามยังมีมังกรและเสือโคร่งเป็นสัตว์ประจำชาติอีกด้วย
15 16 แต่บางตัวจะมีบ้างที่เป็นสีชมพู ซึ่งเราเรียกกันว่า ควายเผือก นอกจากนี้ มันยังมีเขาโดยปลายเขาของมันจะโค้งเป็นวงคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งนั่นก็คือ เอกลักษณ์ของมันที่มีความโดดเด่นในบรรดาสัตว์ตัวใหญ่ชนิดต่าง ๆ นั้นเป็นสัตว์ที่อยู่คู่ชาวนามาทุกยุคสมัยและแทบจะทุกประเทศอาเซียนเลยก็ว่าได้ ควายจึงเป็นสัตว์ที่นับว่ามีประโยชน์หลายด้าน ทว่าปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีสมัยใหม่มีบทบาทต่อชีวิตคนเราให้เอื้อต่อการดำรงชีพได้ง่ายดายมากขึ้น ควายจึงถูกนำมาใช้งานน้อยลง ส่วนลักษณะรูปร่างนั้น ควายเป็นสัตว์สี่ขา มีเท้าเป็นกีบ ลำตัวจะใกล้เคียงกับวัว เติบโตเต็มที่เมื่ออายุ 5-8 ปี ผิวของมันสีเทาถึงดำ
ซอย ไชเท้าซอย ให้เติมตามใจชอบ 17 18 เปาะเปี๊ยะเวียดนาม ถือเป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมืองที่โด่งดังที่สุดของประเทศเวียดนาม ความอร่อยของเปาะเปี๊ยะเวียดนาม อยู่ที่การนำแผ่นแป้งซึ่งทำจากข้าวจ้าวมา ห่อไส้ ซึ่งอาจจะเป็นไก่ หมู กุ้ง หรือหมูยอ โดยนำมารวมกับผักสมุนไพรอีกหลายชนิด เช่น สะระแหน่ ผักกาดหอม และนำมารับประทานคู่กับน้ำจิ้มหวาน โดยจะมีถั่วคั่ว แครอท ซอย ไชเท้าซอย ให้เติมตามใจชอบ อาหารประจำชาติ
19 20 อ่าวหญ่าย (Ao dai) เป็นชุดประจำชาติของประเทศเวียดนามที่ประกอบไปด้วยชุดผ้าไหมที่พอดีตัวสวมทับกางเกงขายาวซึ่งเป็นชุดที่มักสวมใส่ในงานแต่งงานและพิธีการสำคัญของประเทศ มีลักษณะคล้ายชุดกี่เพ้าของจีน ในปัจจุบันเป็นชุดที่ได้รับความนิยมจากผู้หญิงเวียดนาม ส่วนผู้ชายเวียดนามจะสวมใส่ชุดอ่าวหญ่ายในพิธีแต่งงาน หรือพิธีศพ ชุดปะจำชาติ
21 22 ภาษา : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) เป็นภาษาราชการ ซึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2463 วงการวิชาการเวียดนามได้ลงประชามติที่จะใช้ตัวอักษรโรมัน (quoc ngu) แทนตัวอักษรจีน (Chu Nom) ในการเขียนภาษาเวียดนาม ศาสนา : ส่วนใหญ่ชาวเวียดนามนับถือศาสนาพุทธ นิกายมหายานสูงถึงร้อยละ 70 ของจำนวนประชากร ร้อยละ 15 นับถือศาสนาคริสต์ ที่เหลือนับถือลัทธิขงจื้อ มุสลิม ภาษาประจำชาติ ธงชาติ ตราแผ่นดิน
อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย 23 24 ใช้สกุลเงิน ด่ง อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง, 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง สกุลเงิน
ระบอบการปกครอง: ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว 25 26 ระบอบการปกครอง: ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว ประมุข-ประธานาธิบดี คือ นายเหงียน มินห์ เจี๊ยต (Nguyen Minh Triet) (27 มิถุนายน 2549) หัวหน้ารัฐบาล-นายกรัฐมนตรี คือ นายเหงียน ถัน ดุง (Nguyen Tan Dung) เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ คือ นายหน่ง ดึ๊ก หมั่น (Nong Duc Manh) การปกครอง
27 28 เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ “เต็ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สำคัญที่สุดดขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์เป็นการเฉลิมฉลองความเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย วัฒนธรรม เทศกาลเต็ด
29 30 เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทำขนมเปี๊ยะโก๋ญวนหรือบันตรังทู ทีมีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสำหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดูดวงจันทร์ เทศกาลฤดูใบไม้ร่วง
เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง 31 32 ขบวนของโคมไฟและโคมไฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับความเจริญรุ่งเรืองในช่วงเทศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวงจันทร์(Banh Trung พฤ.) เพื่อเพื่อนและครอบครัว ในเวลากลางคืนเด็กจะเดินขบวนในถนนร้องเพลงในขณะที่ส่งมอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟ เหล่านี้จีนมีเทียนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง
33 34 ฮาลอง เบย์ เป็นอ่าวแห่งหนึ่งในพื้นที่ของอ่าวตังเกี๋ย ทางตอนเหนือของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ใกล้ชายแดนติดต่อกับสาธารณรัฐประชาชนจีน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,500 ตารางกิโลเมตร และมีชายฝั่งยาว 120 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงฮานอยไปทางตะวันออกประมาณ 170 กิโลเมตร มีชื่อตามการออกเสียงในภาษาเวียดนามเขียนได้ว่า สถานที่ท่องเที่ยว ฮาลอง เบย์
35 36 ทำให้ชาวเวียดนามปกป้องแผ่นดินได้สำเร็จ และก่อตั้งประเทศ ซึ่งต่อมาคือเวียดนามในปัจจุบัน บางตำนานก็กล่าวไว้ว่ามีสัตว์ในตำนานที่ชื่อว่า Tarasque อาศัยอยู่ที่ก้นอ่าวบริเวณ อ่าวฮาลอง มีเกาะหินปูนจำนวน 1,969 เกาะโผล่พ้นขึ้นมาจากผิวทะเล บนยอดของแต่ละเกาะมีต้นไม้ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น หลายเกาะมีถ้ำขนาดใหญ่อยู่ภายใน ถ้ำที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณอ่าวคือ ถ้ำเสาไม้ หรือชื่อเดิมว่า Grotte des Merveilles "Vinh Ha Long" หมายถึง "อ่าวแห่งมังกรผู้ดำดิ่ง" ตำนานพื้นบ้านกล่าวไว้ว่า ในอดีตนานมาแล้วระหว่างที่ชาวเวียดนามกำลังต่อสู้กับกองทัพชาวจีนผู้รุกราน เทพเจ้าได้ส่งกองทัพมังกรลงมาช่วยปกป้องแผ่นดินเวียดนาม มังกรเหล่านี้ได้ดำดิ่งลงสู่ท้องทะเลบริเวณที่เป็นอ่าวฮาลองในปัจจุบัน ทำให้มีอัญมณีและหยกพุ่งกระเด็นออกมากลายเป็นเกาะแก่งน้อยใหญ่กระจายอยู่ทั่วอ่าวเป็นเกราะป้องกันผู้รุกราน
37 38 ชายหาดที่สวยงามที่นักท่องเที่ยวนิยมไปเยี่ยมชม บางเกาะเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวประมงและบางเกาะยังเป็นถิ่นอาศัยของสัตว์หลายชนิด เช่น ไก่ป่า ละมั่ง ลิง และกิ้งก่าหลายชนิด เกาะเหล่านีมักจะได้รับการตั้งชื่อจากรูปร่างลักษณะที่แปลกตาเช่น เกาะช้าง เกาะไก่ชน เกาะหลังคา เป็นต้น ซึ่ง ตั้งชื่อโดยนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสที่มาเยี่ยมชมอ่าวเมื่อปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 19 ภายในถ้ำประกอบไปด้วยโพรงกว้าง 3 โพรง มีหินงอกและหินย้อยขนาดใหญ่อยู่จำนวนมาก เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบริเวณอ่าว 2 เกาะ คือ เกาะกัดบา และเกาะ Tuan Chau ทั้งสองเกาะนี้มีคนตั้งถิ่นฐานอยู่อย่างถาวร บนเกาะมีโรงแรมและชายหาดจำนวนมากคอยให้บริการนักท่องเที่ยว ส่วนเกาะขนาดเล็กอื่นๆ บางเกาะก็มี
39 40 ซาปา เป็นเมืองชายแดนตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ในจังหวัดหล่าวกาย มีจุดเด่นคือมีการทำนาขั้นบันไดมาก ทำให้มีภูมิทัศน์สวยงามแก่การท่องเที่ยว เดิมซาปาเป็นเมืองตากอากาศของเจ้านายชั้นสูงชาวฝรั่งเศสที่มาทำงานในเวียดนาม จึงมีสถาปัตยกรรมอาคารบ้านเรือนและการวางผังเมืองแบบอาณานิคมฝรั่งเศส มีจุดเด่นที่ตั้งอยู่กลางเมืองคือ โบสถ์คาทอลิก ซาปา