สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
Advertisements

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การจัดทำหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีและผลการใช้หลักสูตรฯ ประจำปี 2559.
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ระดับความสำเร็จของพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง พัฒนาการพบสงสัยล่าช้า ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

แนวทางการประเมินตัวชี้วัดที่ 1.2 แนวทางประเมินให้คะแนน ระดับความสำเร็จของพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง พัฒนาการพบสงสัยล่าช้า ร้อยละ 20 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม ร้อยละ 90 หน่วยงานรับการประเมิน ส่วนกลาง: สำนักส่งเสริมฯ , สถาบันฯ , กองกิจฯ สำนักทันตะฯ , สำนักอนามัยผู้สูงอายุ ส่วนภูมิภาค : ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง รูปแบบประเมินตัวชี้วัดแบบ ผสม ผสาน (Hybrid) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน แนวทางประเมินให้คะแนน 1 Process 2 ยึดกรอบแนวทางการประเมิน กพร. 3 4 Output / Outcome - ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจาก HDC 5 รวม

เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 -วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย (0.5 คะแนน) - มีแผนปฏิบัติการ/แผนการดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน (Action plan) (0.5 คะแนน) - สถานการณ์ข้อมูลการดำเนินงานอย่างน้อยย้อนหลัง 3 - 5 ปี -รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน -แผนปฏิบัติการ/แผนการดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน 2 - มีนโยบาย หรือ มาตรการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย (0.6 คะแนน) - มี Key Message และเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อ สร้าง HL ปชช. /จนท. สื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ ของหน่วยงาน(0.4 คะแนน) -นโยบายหรือมาตรการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สูงดีสมส่วน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย - Key Message และ ช่องทางการสื่อสาร -มีแนวทางการดำเนินงานในการเฝ้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติฯ

เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 - ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานระดับประเทศ (0.3 คะแนน) -ขับเคลื่อนมาตรการ กำกับ ติดตาม สนับสนุน โดยใช้เครื่องมือ/แนวทาง/กระบวนงานที่ออกแบบในขั้นตอนที่ 1, 2 ในการปรับปรุงคุณภาพ/พัฒนา กระบวนงานเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในประเด็นปัญหาที่วิเคราะห์ร่วมกับภาคีเครือข่าย (0.4 คะแนน) - สนับสนุนวิชาการและเทคนิคการดำเนินงาน เช่นคู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร แนวทางฯ การประชุม/อบรม/พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผ่านช่องทางต่างๆ (0.3 คะแนน) 1 -รายงานการดำเนินงานฯ - การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ฯ - คู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร แนวทางฯ การประชุม/อบรม/พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผ่านช่องทางต่างๆ - มีสรุปรายงานในการสร้างเครือข่าย สร้างการรับรู้เกี่ยวกับเรื่องพระราชบัญญัติฯ - มีการรายงานการออกตรวจการเฝ้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติฯ

เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 4 1. เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยร้อยละ 22 (0.4 ) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 คะแนน 0.32 0.34 0.36 0.38 0.40 ร้อยละ 18 20 22 24 26

เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารฯ 4 2. ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 แยกตามรายเขต (0.3 คะแนน) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 ค่าคะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ ลดลง 2 ลดลง 1 baseline เพิ่มขึ้น 1 เพิ่มขึ้น 2 ศอ.1 47.33 47.82 48.3 48.78 49.27 ศอ.2 50.46 50.98 51.49 52.00 52.52 ศอ.3 63.35 63.99 64.64 65.29 65.93 ศอ.4 48.80 49.30 49.8 50.30 50.80 ศอ.5 52.17 52.70 53.23 53.76 54.29 ศอ.6 46.30 46.77 47.24 47.71 48.18 ศอ.7 61.99 62.62 63.25 63.88 64.52 ศอ.8 39.66 40.07 40.47 40.87 41.28 ศอ.9 68.67 69.37 70.07 70.77 71.47 ศอ.10 49.97 50.48 50.99 51.50 52.01 ศอ.11 40.43 40.84 41.25 41.66 42.08 ศอ.12 38.90 39.29 39.69 40.09 40.48

เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารฯ 4 3. เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 54 (0.3 ) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 ค่าคะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ ลดลง 1.5 ลดลง 0.75 baseline เพิ่มขึ้น 0.75 เพิ่มขึ้น 1.5 ศอ.1 43.2 44.0 44.7 45.5 46.2 ศอ.2 46.3 47.1 47.8 48.6 49.3 ศอ.3 47.3 48.1 48.8 49.6 50.3 ศอ.4 50.2 50.9 51.7 52.4 53.2 ศอ.5 50.1 50.8 51.6 52.3 53.1 ศอ.6 53.8 54.6 ศอ.7 51.0 52.5 54.0 ศอ.8 49.1 49.9 50.6 51.4 52.1 ศอ.9 49.4 ศอ.10 52.9 ศอ.11 52.2 53.7 54.4 55.2 ศอ.12 51.1 51.8

เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เอกสารประกอบการพิจารณา เกณฑ์การประเมิน ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 5 1. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการอย่างน้อยร้อยละ 80(0.30) 2. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบสงสัยล่าช้าร้อยละ 20 (0.3) 3. เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามอย่าง น้อยร้อยละ 80 (0.40) 1 - ข้อมูล HDC ตค.61 – กพ.62 คะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ 76 78 80 82 84 คะแนน 0.22 0.24 0.26 0.28 0.30 ร้อยละ 16 18 20 22 24 คะแนน 0.32 0.34 0.36 0.38 0.40 ร้อยละ 76 78 80 82 84

เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 - วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย (0.5 คะแนน) - มีแผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO - สถานการณ์ข้อมูลการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - แผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO

เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 2 - มีนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่นในการขับเคลื่อนงานด้านส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัยในคลินิกชุมชนอบอุ่น (0.5 คะแนน) - มี Key Message และเนื้อหาด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อสร้างและส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ HL แก่ประชาชนและบุคลากรคลินิกชุมชนอบอุ่น โดยการสื่อสาร /แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านช่องทางต่างๆ ของคลินิกชุมชนอบอุ่น (0.3 คะแนน) - มีการดำเนินงานในการเฝู้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ในคลินิกชุมชนอบอุ่น (0.2 คะแนน) 1 - นโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น - Key Message และ ช่องทางการสื่อสาร - มีแนวทางการดำเนินงานในการเฝ้าระวังการละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560

เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 3 - ถ่ายทอด/ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่นอย่างน้อยร้อยละ50 (84แห่ง) (0.3 คะแนน) - ขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก (HLO) รวมถึง กำกับ ติดตาม สนับสนุน การดำเนินงานด้านส่งเสริมพัฒนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพ (0.4 คะแนน) - สนับสนุนวิชาการ ได้แก่ คู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร ผ่านช่องทางต่างๆ 1 -รายงานการดำเนินงานนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโต -รายงานขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก -มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย

เกณฑ์การประเมิน สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เอกสารประกอบการพิจารณา รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) (ต่อ) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 4 เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการที่หน่วยบริการสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้รับการคัดกรองพัฒนาการครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 1 - ฐานข้อมูลสารสนเทศ เดือนตุลาคม 2561 ถึงกุมภาพันธ์ 2562 5 เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มารับบริการที่หน่วยบริการสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้รับการคัดกรองพัฒนาการครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 คะแนน 0.10 0.20 0.50 0.70 1.00 ร้อยละ 43 46 49 52 55 คะแนน 0.10 0.20 0.50 0.70 1.00 ร้อยละ 48 51 54 57 60

เอกสารประกอบการพิจารณา เกณฑ์การประเมิน รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) ระดับชั้น กิจกรรมที่ดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการพิจารณา 1 - วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย (0.5 คะแนน) - มีแผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO - สถานการณ์ข้อมูลการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย - แผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000วันแรกของชีวิตในคลินิกชุมชนอบอุ่น และพัฒนาสู่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก HLO

งานพัฒนาการเด็กจะบรรลุผลดี ขออย่าดูเพียง ตชว.สมวัย..ครับ