การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
การพัฒนากฎหมายการ คลัง และระบบงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ. ศ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การบริหารงานคลังสาธารณะ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
ส่วนพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
อำนาจอธิปไตย 1.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนผังแสดงกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตภาครัฐ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน โดย นายศักดิ์ เกียรติก้อง ประธานอนุกรรมการด้านติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามภารกิจของ ก.ถ.

ความสำคัญและความเป็นมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม แบ่งการบริหาราชการแผ่นดินของไทย ออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ (1) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง (สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม) (2) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค (จังหวัด อำเภอ) (3) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนจังหวัด.เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา)

การปกครองท้องถิ่นไทย ความหมาย หมายถึง การปกครองที่รัฐบาลมอบอำนาจให้ประชาชนในท้องถิ่น จัดการปกครองและดำเนินการบางอย่าง โดยดำเนินการกันเอง เพื่อบริการสาธรณะความต้องการของประชาชน การบริหารของท้องถิ่น มีการจัดเป็นองค์กร มีเจ้าหน้าที่ซึ่งประชาชนเลือกตั้งขึ้นมาทั้งหมด หรือบางส่วน ทั้งนี้ มีความเป็นอิสระในการบริหารงานแต่รัฐบาลต้องควบคุมด้วยวิธีการต่างๆ ตามความเหมาะสม จะปราศจากควบคุมของรัฐไม่ได้เพราะการปกครองท้องถิ่นเป็นสิ่งที่รัฐทำให้เกิดขึ้น

สาระสำคัญของหลักการปกครองท้องถิ่น (1) มีหลายรูปแบบ จะแตกต่างกันไปตามความเจริญ จำนวนประชากร และขนาดพื้นที่ (2) ต้องมีอำนาจ (Autonomy) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม (3) ต้องมีสิทธิตามกฎหมายที่จะดำเนินการปกครองตนเอง โดยสิทธิ แบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ (3.1) สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3.2) สิทธิในการกำหนดงบประมาณเพื่อบริหารกิจการตามอำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ (4) มีองค์กรที่จำเป็นในการบริหารและปกครองตนเอง (5) ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น

องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ต้องมีอาณาเขตที่แน่นอนชัดเจน (Area) 2. ต้องมีอำนาจอิสระ (Autonomy) 3. ต้องมีสิทธิตามที่กฎหมายรับรอง 4. ต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่น เข้ามา มีส่วนร่วมในการปกครองทั้งโดยตรงและโดยอ้อม 5. ต้องมีองค์กรที่แน่นอนชัดเจนในการบริหารจัดการงานของท้องถิ่น

รูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นไทย ปัจจุบัน มี 5 รูปแบบ (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (Provincial Administration Organization) (2) เทศบาล (Municipality) (3) องค์การบริหารส่วนตำบล (Sub-district Administration Organization) (4) กรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration) (5) เมืองพัทยา (Pattaya City)

โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจุบัน ได้กำหนดโครงสร้างออกเป็นรูปแบบสภากับฝ่ายบริหาร ได้แก่ (1) มีการแบ่งแยกฝ่ายสภาและฝ่ายบริหารออกจากกัน (2) ฝ่ายบริหาร ทำหน้าที่ในการบริหารกิจการภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) ฝ่ายสภา ทำหน้าที่ในการตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหารและ ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายในระดับท้องถิ่น (4) สภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง (5) หัวหน้าฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง

กฎหมายที่สำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1) พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (2) พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (3) พ.ร.บ.สภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (4) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 (5) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542

ปัญหาของการปกครองท้องถิ่นไทย (1) ประชาชนขาดจิตสำนึกในการปกครองตนเอง (2) ประชาชนให้ความสนใจในการเลือกตั้งน้อย (3) ปัญหาด้านการคลัง (4) ระบบบริหารงานบุคคลไม่ทัดเทียมกับข้าราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค (5) การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นมีน้อย

จำนวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 75 แห่ง 2. เทศบาล จำนวน 1,276 แห่ง 2.1 เทศบาลนคร จำนวน 23 แห่ง 2.2 เทศบาลเมือง จำนวน 129 แห่ง 2.3 เทศบาลตำบล จำนวน 1,124 แห่ง 3. องค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 6,500 แห่ง 4. การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ จำนวน 7,853 แห่ง