- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
Advertisements

Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
ประโยชน์สุขของประชาชน
พิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ดร. ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร..
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กร สู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
Management Tools & Models Episode IV
EAHC CBP long term plan.
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
The Balanced Scorecard & KPI
การบริหารเชิงกลยุทธ์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การโฆษณาผ่านสื่อดิจิทัล AMC4301
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
EAHC CBP long term plan.
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหาร สายสนับสนุนและช่วยวิชาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
การสวัสดิการกองทัพเรือ
โรงพยาบาลนนทเวช.
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย เอกสารประกอบการบรรยาย 09.15-10.30 น. - แนวคิดและหลักการของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ - การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย การฝึกอบรม เรื่องการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning) สำหรับบุคลากรของเขตการศึกษาภูเก็ต 23 มีนาคม 2550

ความหลากหลายของการเปลี่ยนแปลง สังคมจะเข้าสู่ยุค Knowledge Society, Learning Society เทคโนโลยีจะมีบทบาทต่อชีวิตประจำวัน มากขึ้น >> ICT, BioTech. เศรษฐกิจเข้าสู่ยุค Digital Economy การวางแผนกลยุทธ์องค์การจะมองระยะยาว เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้

ความหลากหลายของการเปลี่ยนแปลง การจัดโครงสร้างองค์การจะเป็นแนวราบและเป็นเครือข่าย (Flat Organization & Networking) การกระจายอำนาจตัดสินใจสู่ผู้ปฏิบัติ จะมากขึ้น (Empowerment) เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้

ความหลากหลายของการเปลี่ยนแปลง ประชาคมจะมีส่วนร่วมมากขึ้น (Participation) การใช้ความรู้เชิงสหวิทยาการ มีความจำเป็นมากขึ้น การแก้ปัญหาจะต้องมองภาพที่เป็นลักษณะองค์รวม เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้

การบริหารการเปลี่ยนแปลง องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า คุณภาพ quality การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management เพิ่มคุณค่า Value Creation การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มความพึงพอใจ เพิ่มความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ&ทุนความรู้ ทุนองค์กร

S W O T บุคคล/วัฒนธรรม กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่ Strategy Formulation การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control การกำกับและติดตามผล Strategy Implementation การปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management การประเมินและบริหารความเสี่ยง บุคคล/วัฒนธรรม กระบวนงาน ระบบสารสนเทศ การปรับเชื่อมโยง กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

การบริหารองค์กรแนวใหม่ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation ติดตามประเมินผล Strategic Control วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation  วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ ค่าเป้าหมาย กุลยุทธ์  Strategy Map แผนปฏิบัติการ การปรับแต่ง  กระบวนงาน  โครงสร้าง  เทคโนโลยี  คน กำกับติดตามและ ประเมินผล ทบทวนสถานการณ์เพื่อ วางยุทธศาสตร์ใหม่ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์

ระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Base Management ;RBM) input process output outcome “คน” ขับเคลื่อน มิติที่ 4 “คน” ที่เป็น เป้าหมาย การพัฒนา

1. 2. 3. 4. การทบทวนยุทธศาสตร์ Strategy Re-formulation Effectiveness ผังเชิงยุทธศาสตร์ Strategy Map (ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุ/ผล ) ปัจจัยที่ขาดหายไป(Missing Links?) ทางออกเพื่อแก้ไขปัญหา การทบทวนยุทธศาสตร์ Strategy Re-formulation 1. แผนการบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management Plan อุปสรรคการดำเนินงานกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิด ทางออกเพื่อแก้ไขปัญหา Quality 2. Efficiency 3. กระบวนการบริหารลูกค้า Customer Management Processes การบริหารกระบวนการ Operations Management Processes Capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้Intangible Assets Management Processes 4.

Intangible Assets Management Processes ทุนองค์การ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ Intangible Assets Management Processes ทุนมนุษย์ Human Capital Human Capital Development Plan ทักษะ ความรู้ การสร้าง “ความพร้อม” ในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์Strategic Readiness คุณค่า ขีดความสามารถ ทุนข้อมูลสารสนเทศและทุนความรู้ Information Capital ICT Plan ระบบ ฐานข้อมูล เครือข่าย ทุนองค์การ Organization Capital Knowledge Mgt. Individual Scorecard ภาวะผู้นำ ทำงานเป็นทีม วัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดเป้าหมาย

กรอบการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีขององค์กร................................................................ วิสัยทัศน์ ...................................................................................................... ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ 1. 1. 1.1 1.2 1.1 1.2 1.3 2. 2. 2.1 2.2 2.1 2.2 2.3 3. 3. 3.1 3.2 3.1 3.2

ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ขององค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) เป้าประสงค์ (Goals) 1. … 1.1 ... 1.2 2. … 2.1 ... 2.2 3. … 3.1 ... 3.2 4. … 4.1 ... 4.2

เป้าประสงค์และตัวชี้วัดองค์กร (Goals) ตัวชี้วัด (KPIs) ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) เป้าหมาย (Targets) ปี 48-51 ปี48 ปี49 ปี50 ปี51 ปี 45 ปี 46 ปี 47 1. … 1.1 ... 1.2 ... 2. … 2.1 ... 2.2 ... 3. … 3.1 ... 3.2 ... 3.3 ...

กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์องค์กร............................ แผนปฏิบัติการรายปี วิสัยทัศน์ ...................................................................................................... ค่าเป้าหมาย ประเด็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ โครงการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1. 1. 1.1 1.2 1.1 1.2 1.3 1.1.1 1.2.2 2. 2.1 2.2 2. 2.1 2.2 2.3 2.1.1 3. 3. 3.1 3.2 3.1 3.2 3.3 3.1.1 3.2.2 3.2.3 ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยากร (เงิน คน) ผลลัพธ์ สุดท้าย ผลลัพธ์

ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์องค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) เป้าประสงค์ (Goals) 1. … 1.1 ... 1.2 2. … 2.1 ... 2.2 3. … 3.1 ... 3.2 4. … 4.1 ... 4.2

กลยุทธ์องค์การ(หรือจังหวัด)และโครงการ งบประมาณที่ได้รับ จัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2548 โครงการ หน่วยงาน รับผิดชอบ กลยุทธ์ (Strategies) 1.1 … 1.1.1 ... 1.1.2 1.2 … 1.2.1 ... 1.2.2 2.1 … 2.1.1 ... 2.1.2 2.2 … 2.2.1 ... 2.2.2

การกำหนดกลยุทธ์ การวิเคราะห์ SWOT การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และ กลยุทธ์ขององค์กร

การจัดการเชิงกลยุทธ์ Strategic Management http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การกำหนดทิศทางขององค์กร การกำหนดทิศทางขององค์กรมักจะเป็นจุดเริ่มในการวางแผนกลยุทธ์ โดยทั่วไปเนื้อหาของทิศทางของ องค์กรมักประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (vision) ภารกิจ (mission) และวัตถุประสงค์ (objective) http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การกำหนดทิศทางขององค์กร การกำหนดทิศทางขององค์กรนั้นไม่มีสูตรสำเร็จตายตัว แต่การกำหนดทิศทางที่ดีต้องช่วยบอกให้กับบุคลากรทั้งหมด ขององค์กรได้ทราบว่า องค์กรกำลังมุ่งหน้าไปในทิศทางใดอย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจให้เกิดผลในทางปฏิบัติที่จะมุ่งไปสู่เป้าหมายดังกล่าว http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร เพื่อการวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร เพื่อการวางแผนกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์คือการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมขององค์กรซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ ก็คือ สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร และ สภาพแวดล้อมภายในองค์กร โดยเครื่องมือในการวิเคราะห์ที่แพร่หลายที่สุดก็คือ SWOT http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร เพื่อการวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร เพื่อการวางแผนกลยุทธ์ SWOT ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ จุดแข็ง(Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ อุปสรรค (Threat) ซึ่งช่วยให้เราได้วิเคราะห์และมองเห็น องค์กรอย่างรอบด้านมากยิ่งขึ้น ทำอย่างไรจึงจะอาศัยโอกาสและจุดแข็งมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลีกเลี่ยงอุปสรรคและลดจุดอ่อนขององค์กรให้ได้มากที่สุด http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร หลังจากที่เราได้วิเคราะห์ของสภาพแวดล้อมต่างๆ แล้ว ก็ถึงขั้นตอนในการกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร มิติในการกำหนดกลยุทธ์อาจกำหนดเป็นระดับเช่น กลยุทธ์ระดับองค์กร กลยุทธ์ระดับฝ่ายงานและแผนงานปฏิบัติ หรือการกำหนดกลยุทธ์ตามมุมมองต่างๆ เช่น ด้านลูกค้า ด้านการเงิน ด้านกระบวนการภายใน ด้านบุคลากร ฯลฯ http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ถ้าหากมีแผนแล้วแต่ไม่นำมาปฏิบัติ การลงทุนลงแรงต่างๆ ไปกับการเขียนแผนก็คือความสูญเปล่า องค์กรที่ ประสบความสำเร็จนั้นจะต้องให้ความสำคัญกับทั้งการสร้างแผนกลยุทธ์และการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ความสำเร็จในการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัตินั้น มีปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องอยู่หลายประการ เช่น บทบาทของผู้นำ ระดับการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ โครงสร้าง/วัฒนธรรม และการควบคุมเชิงกลยุทธ์ http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

การประเมินผลและตัวชี้วัด ถึงแม้ว่าการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติจะมีปัจจัยแห่งความสำเร็จอยู่หลายประการ แต่ปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุด ประการหนึ่งก็คือ การควบคุมทาง กลยุทธ์เพื่อให้มีการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง ในขณะนี้การควบคุม กลยุทธ์โดยใช้ตัวชี้วัดเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย เพราะถ้าหากไม่มีการวัดผลแล้ว ผู้บริหารก็ไม่สามารถบริหาร จัดการองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ http://webct.mmpm4u.com/module/module03.html

Strategic Management Process Strategy Formulation Strategy Implementation Strategic Control วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map แผนปฏิบัติการ การปรับแต่ง กระบวนงาน โครงสร้าง เทคโนโลยี คน กำกับติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน การทบทวนสถานการณ์เพื่อปรับยุทธศาสตร์ Strategic Management Process

Strategy Implementation Strategy Formulation Strategy Implementation แผนปฏิบัติราชการรายปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี Vision Strategic Issue Goal (KPI/Target) Strategies Action Plan S W O T Structure Process IT People Alignment

S W O T บุคคล/วัฒนธรรม กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่ Strategy Formulation การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control การกำกับและติดตามผล Strategy Implementation การปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management การประเมินและบริหารความเสี่ยง บุคคล/วัฒนธรรม กระบวนงาน ระบบสารสนเทศ การปรับเชื่อมโยง กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

การจัดทำแผนกลยุทธ์ (Strategic plan)

แผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan) แผนกลยุทธ์ หรือ แผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan) คือ อะไร? ทำไม ต้องทำ ?

แผนกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ เป็นเรื่องของการวิเคราะห์ภาระหน้าที่ขององค์กรและวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การกำหนดภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร ตามระยะเวลาที่กำหนด โดยมีวิสัยทัศน์หรือภาพแห่งอนาคตที่ต้องการให้เกิดขึ้นเป็นเครื่องกำหนดทิศทาง

แผนกลยุทธ์ มีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร ใช้ SWOT ANALYSIS การประเมินสถานภาพขององค์กรจะนำ SWOT ANALYSIS การจัดวางทิศทางขององค์กร ได้แก่ การกำหนด วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์ (Goal) การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร ได้แก่ กลยุทธ์ (Strategy) และมาตรการ (Procedure) ตลอดจนการกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์และตัวชี้วัด

แนวทางการวางแผนยุทธศาสตร์ ขององค์กร การเตรียมการ (Project Setup) การวิเคราะห์ศักยภาพ ของ องค์กร (SWOT) การจัดทำ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ (Vision, Goals and Strategic Issues) การกำหนดยุทธศาสตร์ (Strategy) การกำหนด โครงการ (Action Plans)

รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์ ขั้นเตรียมการ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมการ (Project Setup) การวิเคราะห์ ศักยภาพ องค์กร (SWOT Analysis) การจัดทำวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ (Vision, Goals and Strategic Issues) การกำหนด ยุทธศาสตร์ ในการพัฒนา (Strategies) การกำหนด แผนปฏิบัติการ (Action Plans) จัดตั้งคณะทำงาน รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ ศักยภาพ ของ องค์กร ในประเด็นที่ เกี่ยวข้อง ปัจจัยภายใน Strength จุดแข็ง Weakness จุดอ่อน ปัจจัยภายนอก Opportunity โอกาส Threat อุปสรรค องค์กรต้องการเป็นอะไร มีเป้าประสงค์และเป้าหมายอย่างไร มีประเด็นทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญอะไรที่ต้องได้รับการพัฒนา องค์กร ต้องทำสิ่งใดบ้างเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุตามวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด การนำ ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติในรูปของแผนงาน/ โครงการ

ขั้นเตรียมการ (Project Setup) จัดตั้งคณะทำงานจัดทำแผนกลยุทธ์ เน้นการมีส่วนร่วมจากภาคีที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำ SWOT สภาวะแวดล้อมภายนอก นโยบายรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาติ ลักษณะเฉพาะตัวและความต้องการของพื้นที่

ขั้นตอนที่ 1: การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนาของ องค์กร ในปัจจุบัน (SWOT Analysis) ปัจจัยภายใน จุดแข็ง (Strength: S) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายใน องค์กร เกี่ยวกับส่วนดี ความเข้มแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ ส่วนที่ส่งเสริมความสำเร็จ จุดอ่อน (Weakness: W) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายใน องค์กร เกี่ยวกับ ส่วนเสีย ความอ่อนแอ ข้อจำกัด ความไม่พร้อม รวมทั้งประเด็นปัญหาและความต้องการพื้นที่ เป็นอย่างไร โอกาส (Opportunity: O) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอก(Outside in) ว่ามีสภาพเป็นเช่นไร และจะสร้างให้เกิดโอกาสใดให้กับ องค์กร อย่างไร อุปสรรค (Threat: T) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอก (Outside in)ที่เป็นอุปสรรคหรือภาวะคุกคาม ก่อให้เกิดผลเสียหรือเป็นข้อจำกัดต่อ องค์กร ปัจจัยภายนอก

ขั้นตอนที่ 1: การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนาของพื้นที่ลุ่มน้ำในปัจจุบัน (SWOT Analysis) ตัวอย่าง (Example) จุดแข็ง (Strength: S) ความหลากหลายทางชีวภาพ ทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมและโครงสร้างพื้นฐาน วัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ จุดอ่อน (Weakness: W) ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พฤติกรรมการใช้น้ำ ขาดความร่วมมือ โอกาส (Opportunity: O) การติดต่อเชื่อมโยงการพัฒนาสู่นานาชาติ นโยบายของรัฐ ในการพัฒนา จชต. … อุปสรรค (Threat: T) การครอบงำของระบบทุนนิยม กระแสการก่อการร้าย …

ขั้นตอนที่ 1: การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนาของ องค์กร ในปัจจุบัน (SWOT Analysis) ขั้นตอนการทำ SWOT 1. แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อวิเคราะห์สถานภาพของ องค์กร โดยใช้ประเด็นต่อไปนี้เป็นกรอบ นโยบายรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาติ (National Agenda) ปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ Outside in Moderator นำกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัยภายใน (จุดแข็ง จุดอ่อน) และปัจจัยภายนอก (โอกาส อุปสรรค) ของประเด็นนั้นๆ 3. สรุปแนวความคิดและนำเสนอในกลุ่มใหญ่เพื่อสรุปสถานภาพของการพัฒนา องค์กร ในปัจจุบันว่าอยู่ในระดับใด 4. ร่วมกันจัดลำดับความจำเป็นและความสำคัญของประเด็นต่างๆ

ขั้นตอนที่ 1: การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนา องค์กร ในปัจจุบัน (SWOT Analysis) คุณสมบัติที่ดีของ SWOT Analysis มีความเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาติ แสดงถึงลักษณะเฉพาะตัวของ องค์กร ทั้งในแง่จุดอ่อนและจุดแข็ง ซึ่งสามารถเป็นพื้นฐานประเด็นในการพัฒนา สะท้อนถึงปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่บริการ เป็นข้อเท็จจริง มีข้อมูลสนับสนุน ไม่ใช่ความคิดเห็น คำนึงถึงสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป (Outside in) มีความสมดุลระหว่างการวิเคราะห์ภายนอกและการวิเคราะห์ภายใน

บทบาทของ วิทยากรประจำกลุ่ม ขั้นตอนที่ 1: การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ การพัฒนาของ องค์กร ในปัจจุบัน (SWOT Analysis) บทบาทของ วิทยากรประจำกลุ่ม ช่วยกำหนดแนวทางการวิเคราะห์โดยยึดนโยบายรัฐบาล, ระเบียบวาระแห่งชาติและการบริหาร, กิจการบ้านเมืองที่ดี รวมทั้งลักษณะเฉพาะตัวและความต้องการของพื้นที่เป็นกรอบ ให้มุมมองใหม่ โดยเฉพาะสภาวะแวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไป (Outside in) ควบคุมคุณภาพของการวิเคราะห์ โดยเน้น logic ของการวิเคราะห์ และการมีข้อมูลสนับสนุนการวิเคราะห์

SWOT กับการจัดการเชิงกลยุทธ์ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ค้นหา โอกาส / ภาวะคุกคาม 1 3 4 5 กำหนดภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร 2.วิเคราะห์ด้วย SWOT กำหนด กลยุทธ์ นำกลยุทธ์ ไปใช้ ประเมินผล วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ค้นหา จุดแข็ง / จุดอ่อน นิวัต โชติวงษ์.2544 เครื่องมือและแนวคิดทางการบริหาร / จัดการเชิงกลยุทธ์ กรุงเทพฯ:รอแยลเพรส แอนด์ แพค จำกัด 658.4012 น37ค 2544 SWOT กับการจัดการเชิงกลยุทธ์

SO Strategies WO Strategies ST Strategies WT Strategies ปัจจัยแวดล้อมภายใน ปัจจัย แวดล้อมภายใน โอกาส (O) 1……. 2……. 3…… อุปสรรค (T) 1……. 2……. 3……

S คือ strength หมายถึงจุดแข็งขององค์กรอาทิ มีทรัพยากรด้านบุคลากรซึ่งมีความสามารถ ทักษะ ขยันขันแข็งในการ ทำงาน มีทีมงานวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีความสามารถ มีเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและทันสมัย ความสามารถในการดำเนินการตลาดดี มีความพร้อมทางด้านการเงินซึ่งก่อให้เกิดความได้เปรียบทางด้านเงินทุน การ บริหารงานมีประสิทธิภาพ

W คือ weakness หมายถึงจุดอ่อนขององค์กร อาทิ    - มีการผลิตยาในจำนวนของสายผลิตภัณฑ์ที่น้อยเกินไป    - มีความเชี่ยวชาญในการผลิตต่ำ หรือเทคโนโนโลยีการผลิตไม่ทันสมัย    - ผู้บริหารและบุคลากรที่รับผิดชอบขาดประสบการณ์ในการตลาด    - บุคลากรไม่มีประสิทธิภาพ    - ทีมงานในฝ่ายต่าง ๆ ไม่เข้มแข็งในการปฏิบัติงาน    - บุคลากรขาดขวัญ กำลังใจในการปฏิบัติงาน

O คือ opportunity หมายถึงโอกาสภายนอก อาทิ - การสนับสนุนจากรัฐในด้านต่าง ๆ เช่น การให้การสนับสนุนส่งเสริมการผลิตระดับอุตสาหกรรม หรือการลดภาษีขา เข้าวัตถุดิบหรือตัวยาสำคัญ ที่ใช้ในสูตรตำรับ หรือรัฐตั้งกำแพงภาษี สำหรับผลิตภัณฑ์ทดแทน หรือ สินค้าสำเร็จ รูปที่เป็นคู่แข่งขันจากต่างประเทศ

T คือ threats หมายถึงอุปสรรคภายนอก หรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอาทิ    - การขาดแคลนเชื้อเพลิง    - เชื้อเพลิงที่จำเป็นของโลกสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมันดิบ    - อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น - ภาวะเงินเฟ้อ หรือการลดค่าเงินบาท ซึ่งทำให้เสียเปรียบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ทำให้ต้นทุนวัตถุดิบ หรือตัวยาสำคัญซึ่งต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศสูงขึ้น ดังนั้นอาจทำให้ค่าใช้ จ่ายหรือต้นทุนการผลิต ต่อหน่วย ของ ผลิตภัณฑ์สูงขึ้น

การวิเคราะห์เพื่อจัดวางกลยุทธ์ โดยการทำ SWOT Analysis นี้ จะดำเนินการได้โดยนำปัจจัยหรือสภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกขององค์กรหรือปัจจัยที่มีผลกระทบต่อองค์กรมาพิจารณาว่าจะนำมาใช้เพื่อความสำเร็จขององค์กรได้อย่างไร

ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก SWOT กับ กลยุทธ์ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก S จุดแข็งภายในองค์กร W จุดอ่อนภายในองค์กร O โอกาสภายนอก SO การนำข้อได้เปรียบของจุดแข็ง ภายในและโอกาสภายนอกมาใช้ WO การแก้ไขจุดอ่อนภายในโดย พิจารณาจากโอกาสภายนอก ที่เป็นผลดีต่อองค์กร T อุปสรรคภายนอก ST การแก้ไขหรือลดอุปสรรคภายนอกโดยนำจุดแข็งภายในมาใช้ WT การแก้ไขหรือลดความเสียหาย ของธุรกิจอันเกิดจากจุดอ่อนภายในองค์กรและ อุปสรรคภายนอก P.S.O. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน (จุดด้อย) โอกาสและอุปสรรค (ความเสี่ยง)ขององค์กร (SWOT Analysis) โดย รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ชูเพ็ญ วิบุลสันติ   Download จาก http://www.geocities.com/psothailand/swotanalysis.html 10 กุมภาพันธ์ 2546

กลยุทธ์ SO WO ST WT โอกาส (O) 1……. 2……. 3…… จุดแข็ง (S) 1……. 2……. 3…… ปัจจัยแวดล้อมภายใน ปัจจัย แวดล้อมภายนอก โอกาส (O) 1……. 2……. 3…… อุปสรรค (T) 1……. 2……. 3……

มีจุดแข็งและมีอุปสรรค WT มีจุดอ่อนและมีอุปสรรค SO มีจุดแข็งและมีโอกาส WO มีจุดอ่อนและมีโอกาส ST มีจุดแข็งและมีอุปสรรค WT มีจุดอ่อนและมีอุปสรรค

กลยุทธ์ SO เป็นการนำจุดแข็งและโอกาสภายนอกที่องค์กรพึงมีหรือพึงจะหาได้มาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด

กลยุทธ์ ST เป็นการนำจุดแข็งภายในขององค์กรมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด และแก้ไขหรือทำให้อุปสรรค ภายนอก ลดน้อยลงที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ แม้ว่าในบางครั้งจุดแข็งขององค์กรอาจไม่สามารถลบล้างอุปสรรคให้หมดไปได้ แต่ก็ เป็นการลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นให้เหลือน้อยที่สุด

กลยุทธ์ WO เป็นการหาวิธีแก้ไขจุดอ่อนหรือจุดด้อยภายในองค์กรโดยพิจารณานำโอกาสภายนอกที่จะเอื้ออำนวยผลดี หรือผลประโยชน์ต่อองค์กรมาใช้ให้มากที่สุดเช่น มีการแลกเปลี่ยนหรือขอความร่วมมือด้าน technology จากบริษัท หรือองค์กรที่มี technology ที่เราต้องการ

กลยุทธ์ WT เป็นการพยายามแก้ไขหรือลดความเสียหายของธุรกิจอันเกิดจากจุดอ่อนภายในขององค์กรและอุปสรรค จากผลกระทบภายนอก ซึ่งอาจมีผลรุนแรงต่อการดำเนินการขององค์กร องค์กรจำเป็นต้องหาทางหลีกเลี่ยง จากความ เสียหายเหล่านั้น และประคองตัวเพื่อความอยู่รอด อาจต้องมีการคิดกลยุทธ์ใหม่ เช่น มีการปรับปรุงพัฒนายาให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น มีการปรับปรุงด้านการส่งเสริมการจัดจำหน่ายหรือมีการ ลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่าง ประเทศ ฯลฯ

การประเมินสถานภาพขององค์กร เพื่อตอบคำถาม 4 ประการ 1. จุดยืนในสภาพปัจจุบันขององค์กรอยู่ตรงไหน 2. สภาพแวดล้อมภายนอก/ภายในเป็นอย่างไร 3. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องพอใจสภาพนั้น มาก - น้อย เพียงใด 4. ในระยะ 5 ปี จะทำงานตามภารกิจอย่างไร

ผลการวิเคราะห์สภาพภายในองค์กร ผลการประเมินสถานภาพ...... ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร อาจเป็นโอกาส ( Opportunity : O ) หรือ เป็นอุปสรรค ( Threat : T ) ผลการวิเคราะห์สภาพภายในองค์กร อาจเป็นจุดแข็ง ( Strength : S ) หรือ เป็นจุดอ่อน ( Weakness : W )

การประเมินสถานภาพขององค์กร O + Stars Question marks ? เอื้อและแข็ง เอื้อแต่อ่อน (1) (2) S + W - Cash Cows Dogs ไม่เอื้อแต่แข็ง ไม่เอื้อและอ่อน (4) (3) T -

ผลการประเมินสถานภาพองค์กร ตำแหน่งที่ 1 Stars O + S + W - T - สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นโอกาส และสภาพแวดล้อม ภายในเป็นจุดแข็ง ต่างเป็นปัจจัยเอื้อต่อการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ เรียกว่า สภาพดาวรุ่ง

W - ตำแหน่งที่ 2 Question marks O + S + T - สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นโอกาส เป็นปัจจัยเอื้อ แต่สภาพแวดล้อมภายในเป็นจุดอ่อน ส่งผลให้มีข้อจำกัดในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพเรียก สภาพปัญหา

ตำแหน่งที่ 3 Cash cows O + S + W - T- สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นอุปสรรค สภาพภายในเป็นจุดแข็งที่เอื้อต่อการพัฒนา ซึ่งต้องรักษาความสามารถภายในไว้ พร้อมที่จะ ก้าวต่อไปเมื่อโอกาสมาถึงเรียก สภาพวัวแม่ลูกอ่อน

ตำแหน่งที่ 4 Dogs O + S + W - T- สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นอุปสรรค และสภาพแวดล้อมภายในเป็นจุดอ่อน จึงมีข้อจำกัดในการพัฒนาโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพเรียก สภาพสุนัขจนตรอก

การจัดวางทิศทางขององค์กร (Positioning organization)

VISION STARS : + , + CASH COWS : + , - DOGS : - , - MISSION OBJECTIVE STARS : + , + MISSION CASH COWS : + , - QUESTION MARK : - , + DOGS : - , -

O MAX S MAX T MAX Strategy on SWOT Analysis Chart กลยุทธ์เชิงรุก โดยใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง ทำให้วิสัยทัศน์ สู่ความสำเร็จ กลยุทธ์เชิงรับ/เชิงแก้ไข ใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง แก้ไขจุดอ่อน เร่งรุกบุกเร็ว Aggressive ตั้งรับปรับตัว Turnaround S MAX MAX W รั้งรอขอจังหวะ Defensive/ Diversify MIN เลิกราหาแผนใหม่ Retrenchment แต่ถ้ามีการแก้ไขจุดอ่อน และป้องกันอุปสรรค ก็ไม่ต้องเลิกกิจการ กลยุทธ์เชิงป้องกัน/เชิงปรับเปลี่ยน ใช้สภาพของโอกาส และจุดแข็ง ป้องกันอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น กลยุทธ์อิสระ (คิดนอกกรอบ SWOT) ใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์ ทำให้วิสัยทัศน์ สู่ความสำเร็จ T MAX

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ขั้นตอนที่ 2: การจัดทำวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าประสงค์ (Goals) และประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ของ องค์กร คำจำกัดความ (Description) วิสัยทัศน์ (Vision) เป้าประสงค์ (Goals) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) เป็นการกำหนดสภาพด้านการพัฒนาที่ องค์กร ต้องการจะเป็นในอนาคตตามห้วงระยะเวลาที่กำหนด โดยระบุเป็นข้อความที่สะท้อนถึง ความมุ่งมั่นเกี่ยวกับทิศทางและ จุดยืนที่ต้องการผลักดันให้เกิดขึ้น เป็นจุดหมาย ปลายทางร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นการตอบคำถามว่า เป็นการกำหนดเป้าหมายในระดับวิสัยทัศน์ เพื่อตอบว่า องค์กร ได้บรรลุถึง วิสัยทัศน์ที่ได้ตั้งไว้หรือไม่ โดยเป้าประสงค์ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักๆ คือ ตัวชี้วัด: จะวัดอะไร เป้าหมาย: เป้าหมายของตัวชี้วัดนั้นเป็นเท่าไร เป็นการกำหนดประเด็นที่สำคัญที่ องค์กร จำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเพื่อให้สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ได้ โดยประเด็นทางยุทธศาสตร์จะเกิดจากการเปรียบเทียบวิสัยทัศน์ที่ องค์กร ต้องการจะเป็น (Vision) กับการวิเคราะห์ศักยภาพของ องค์กร ในปัจจุบัน (SWOT) องค์กร ต้องการเป็นอะไรในอนาคต

ขั้นตอนการกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ ขั้นตอนที่ 2: การจัดทำวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าประสงค์ (Goals) และประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ของ องค์กร ขั้นตอนการกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ แบ่งกลุ่มย่อย ตามประเด็นที่ใช้วิเคราะห์ศักยภาพของ องค์กร (กลุ่มละ 1 ประเด็น) โดยมีผู้นำอภิปราย (moderator) ประจำทุกกลุ่ม Moderator ตั้งคำถามให้ผู้เข้าร่วมประชุมระบุข้อความวิสัยทัศน์ในระยะประมาณ 3-5 ปีข้างหน้า ตามความคิดเห็นของแต่ละคน โดยอาศัยฐานข้อมูลจากการทำ SWOT แต่ละกลุ่มพิจารณากำหนดวิสัยทัศน์แต่ละด้าน โดยให้แต่ละคนเขียนข้อความลงในแผ่นกระดาษ (ประเด็นละ 1 สี) Moderator นำอภิปรายเพื่อจัดกลุ่มความคิดที่เหมือนกันหรือแนวคิดเดียวกันจัดเป็นหมวดหมู่เข้าด้วยกัน โดยนำ ข้อความที่เป็นแนวคิดหลัก (key word) หรือเป็นหัวข้อเรื่องของแต่ละกลุ่มความคิดมาจัดเรียงลำดับความสำคัญ เพื่อให้เกิดภาพในอนาคตที่ชัดเจน 5. สรุปความแนวคิดหลักๆ แต่ละเรื่องมาร้อยเรียงให้เป็นประโยคข้อความ ยกร่างเป็นวิสัยทัศน์ในแต่ละด้าน พร้อมทั้งกำหนดเป้าประสงค์ (ทั้งตัวชี้วัดและเป้าหมาย) ของวิสัยทัศน์แต่ละด้าน 6. นำเสนอผลการพิจารณาต่อที่ประชุมกลุ่มใหญ่ เพื่อรวมความคิดทั้งหมด ยกร่างเป็นวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ในภาพรวม

ตัวอย่างวิสัยทัศน์, เป้าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ 2: การจัดทำวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าประสงค์ (Goals) และประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ของ องค์กร ตัวอย่างวิสัยทัศน์, เป้าประสงค์และประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ (Vision) เป้าประสงค์ (Goals) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)

ขั้นตอนที่ 2: การจัดทำวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าประสงค์ (Goals) และประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ของ องค์กร คุณสมบัติที่ดีของวิสัยทัศน์ เป็นปรัชญาที่แสดงให้เห็นถึงค่านิยมที่ยึดถืออยู่ภายในใจของทุกคน (Shared value) และได้รับการสนับสนุนและเป็นที่ยอมรับจากผู้ปฏิบัติ มีความเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายรัฐบาล, ระเบียบวาระแห่งชาติ และสะท้อนถึงสถานะการพัฒนาและความต้องการของ องค์กร เป็นข้อความง่ายๆ ที่สามารถสื่อให้เห็นภาพในอนาคตของ องค์กร ท้าทาย เร้าใจ สามารถใช้เป็นกรอบชี้นำให้มวลสมาชิกดำเนินกิจกรรมเพื่อบรรลุจุดยืนที่ต้องการ ในขณะเดียวกันก็มีความเป็นไปได้ เป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้จริง เป็น “คำมั่นสัญญา” ของผู้บริหารที่แสดงถึงการตัดสินใจ และมุ่งมั่นที่ต้องรับผิดชอบการตัดสินใจ และมุ่งมั่นที่ต้องรับผิดชอบ

ขั้นตอนที่ 2: การจัดทำวิสัยทัศน์ (Vision), เป้าประสงค์ (Goals) และประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ขององค์กร บทบาทของ คณะทำงาน เป็นผู้สนับสนุน (Moderate / facilitate) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ของ องค์กร ควบคุมคุณภาพและ logic ในการเชื่อมโยงผลการวิเคราะห์ SWOT ของ องค์กร กับการกำหนดวิสัยทัศน์, เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนา องค์กร ผลักดันให้มีการกำหนดเป้าประสงค์ในเชิงปริมาณ (Quantitative) ร่วมรับผิดชอบในการส่งมอบวิสัยทัศน์ต่อ องค์กร

ความสัมพันธ์ของวิสัยทัศน์ หน่วยงานหลัก ที่มุ่งมั่นสู่ ความเป็นเลิศ บริหารจัดการ แบบบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน เพื่อคุณภาพชีวิต ที่ดีของประชาชน

เพื่อคุณภาพชีวิต ที่ดีของประชาชน ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เอื้อต่อวิสัยทัศน์ เพื่อคุณภาพชีวิต ที่ดีของประชาชน สุขภาพ อนามัยดี รายได้ เพิ่มขึ้น สภาพแวดล้อม ที่ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย ปริมาณน้ำที่เพียงพอ คุณภาพน้ำที่ดี

การให้ความรู้ต่อประชาชน สร้างระบบติดตามประเมินผล ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เอื้อต่อวิสัยทัศน์ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ระบบการ ดูแลบำรุงรักษา โดยร่วมมือกับ ประชาชน สร้าง และเผยแพร่ มาตรฐานการใช้ ทรัพยากรน้ำ ส่งเสริมการ ใช้ทรัพยากรน้ำ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด การให้ความรู้ต่อประชาชน สร้างระบบติดตามประเมินผล

สร้าง Relation Diagram ของวิสัยทัศน์ ปัจจัยของ วิสัยทัศน์

แนวทางการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวอย่างการกำหนดประเด็นทางยุทธศาสตร์ ประเด็นทาง ยุทธศาสตร์ สูง การศึกษา ยาเสพติด ทรัพยากรน้ำ ผู้มีอิทธิพล อุตสาหกรรม ผลไม้แปรรูป ความจำเป็นเร่งด่วน หรือ โอกาสจากภายนอก ความมั่นคงชายแดน การท่องเที่ยว สิ่งทอพื้นบ้าน ทรัพยากร ป่าไม้ ต่ำ ต่ำ ศักยภาพของ องค์กรหรือ ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ สูง

“ องค์กร จะไปถึงจุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร” ขั้นตอนที่ 3: การกำหนดยุทธศาสตร์ขององค์กร(Strategies) คำจำกัดความ (Description) ยุทธศาสตร์หรือ กลยุทธ์ หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่แยบคายอันบ่งบอกถึงลักษณะการเคลื่อนตัวขององค์กรว่าจะก้าวไปสู่เป้าหมายที่ต้องการในอนาคตได้อย่างไร อันเป็นการตอบคำถามว่า “ องค์กร จะไปถึงจุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร”

กลยุทธ์ ( Strategy ) หมายถึง แผนงาน หรือทิศทางการดำเนินงานที่ชัดเจนในระยะยาวขององค์กรที่ถูกกำหนดขึ้นจากการพิจารณาสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินงานขององค์กรอย่างรอบคอบ และการประสานงานตามหน้าที่ต่างๆ ขององค์กรให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อบรรลุเป้าประสงค์ ( Goal ) พันธกิจ ( Mission )และวิสัยทัศน์ ( Vision ) ขององค์กร ซึ่งมีอยู่ 3 ระดับ ได้แก่ http://www.ge.go.th/mukdahan/pbb/hurdle1.htm http://www.ge.go.th/mukdahan/pbb/hurdle1.htm

1. กลยุทธ์ระดับองค์กร คือ กลยุทธ์ที่บ่งบอกว่าองค์กรมีแผนงานที่จะต้องดำเนินการในระยะยาวอะไรบ้าง 2. กลยุทธ์ระดับแผนงาน คือ กลยุทธ์ที่บ่งบอกว่าในแต่ละแผนงานจะจัดทำโครงการอะไรบ้าง 3. กลยุทธ์ระดับโครงการ คือ กลยุทธ์ที่บ่งบอกว่า ในแต่ละโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้าง http://www.ge.go.th/mukdahan/pbb/hurdle1.htm http://www.ge.go.th/mukdahan/pbb/hurdle1.htm

ขั้นตอนที่ 3: การกำหนดยุทธศาสตร์ขององค์กร(Strategies) คุณสมบัติที่ดีของยุทธศาสตร์ เป็นข้อความง่ายๆ ที่สามารถสื่อให้เห็นแนวทางไม่เกิน 8 แนวทางที่องค์กรจะต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ มีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ระเบียบวาระแห่งชาติ และ/หรือแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น ปัญหาในพื้นที่บริการของ องค์กร มีความเชื่อมโยงในเชิงตรรกะ (logic) ระหว่างผลการวิเคราะห์ SWOT กับวิสัยทัศน์ และเป้าประสงค์ในการพัฒนา คำนึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่ (เงิน, คน และเวลา) รวมทั้งมีความเป็นไปได้ใน ทางปฏิบัติ

ขั้นตอนที่ 3: การกำหนดยุทธศาสตร์ขององค์กร(Strategies) บทบาทของ วิทยากร ประสานการกำหนดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดกับ องค์กร ควบคุมคุณภาพและความเชื่อมโยงในเชิงตรรกะ (logic) ระหว่างผลการ วิเคราะห์ SWOT กับวิสัยทัศน์ และเป้าประสงค์ในการพัฒนา เพื่อให้ได้มาซึ่ง ยุทธศาสตร์ ร่วมรับผิดชอบในการส่งมอบแผนยุทธศาสตร์ต่อ องค์กร

ขั้นตอนที่ 4: การกำหนดแผนปฏิบัติการ (Action Plans) คำจำกัดความ (Description) เป็นการนำแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติในรูปของแผนงาน/ โครงการแบบบูรณาการ โดยกำหนดว่า ใคร (ผู้รับผิดชอบ) จะทำอะไร (กิจกรรม/ขั้นตอน) เมื่อใด (กำหนดเวลา) ให้ได้ผลอย่างไร (ตัวชี้วัด และเป้าหมาย) และ มีค่าใช้จ่ายเท่าไร (งบประมาณ)

ขั้นตอนที่ 4: การกำหนดแผนปฏิบัติการ (Action Plans) คุณสมบัติที่ดีของแผนปฏิบัติการ (Checklist) ทราบว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบ ทราบว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง ทราบว่ามีกำหนดเวลาเท่าใด ทราบว่ามีการติดตามประเมินผลอย่างไร ทราบว่าจะเกิดผลอย่างไร ทราบว่ามีค่าใช้จ่ายเท่าไร มีความยืดหยุ่น สามารถปรับแก้ได้

ขั้นตอนที่ 4: การกำหนดแผนปฏิบัติการ (Action Plans) บทบาทของ วิทยากร ประสานการกำหนดแผนปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดกับ องค์กร ควบคุมคุณภาพและความเชื่อมโยงในเชิงตรรกะ (logic) ระหว่าง วิสัยทัศน์,เป้าประสงค์, ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ ร่วมรับผิดชอบในการส่งมอบแผนปฏิบัติการต่อ องค์กร

สรุปเนื้อหาของแผนยุทธศาสตร์ที่ องค์กร จะต้องนำเสนอ วิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ของ องค์กร (Vision & Goals) ประเด็นยุทธศาสตร์ของ องค์กร (Strategic Issues) ยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์กร (Strategy) โครงการที่สำคัญของ องค์กร (Action Plans) รายละเอียดของโครงการที่สำคัญ เป้าหมายโครงการ, เงินลงทุน และแหล่งเงินทุน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนองค์กรเพื่อเอื้อต่อความสำเร็จของโครงการ (Blueprint for Change)

4. Objectives (วัตถุประสงค์) โครงสร้างนโยบายและแผน….5 layers 1. Vision (วิสัยทัศน์) 2. Mission (พันธกิจ) 3. Goals (เป้าประสงค์) 4. Objectives (วัตถุประสงค์) 5. Strategies (กลยุทธ์) Operational plan !

โครงสร้างนโยบายและแผน….ความสัมพันธ์ระหว่าง layers Vision วิสัยทัศน์ Missions พันธกิจ 1 2 3 Goals เป้าประสงค์ Objectives วัตถุประสงค์ ส่วนล่างทำให้ส่วนบนเป็นจริง Strategies กลยุทธ์

BREAKOUT SESSION แบ่งกลุ่มเป็นกลุ่มย่อยตามที่กำหนด วิเคราะห์ SWOT ขององค์กร โดยใช้ความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ของกลุ่ม (~45 นาที) กำหนดสภาวะแวดล้อมภายนอก (Outside-in) ที่เกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงกับนโยบายรัฐบาล, วาระแห่งชาติ, การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และความต้องการของพื้นที่ กำหนดวิสัยทัศน์, เป้าประสงค์, ประเด็นทางยุทธศาสตร์และยุทธศาสตร์ โดยอ้างอิงจากการวิเคราะห์ SWOT ข้างต้น (~60 นาที) สรุปวิสัยทัศน์, เป้าประสงค์, ประเด็นทางยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของกลุ่มลงใน Template และนำส่งวิทยากรประจำกลุ่ม (~15 นาที)

องค์กร … ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง (Strength: S) จุดอ่อน (Weakness: W) โอกาส (Opportunity: O) อุปสรรค (Threat: T) ปัจจัยภายนอก

กลยุทธ์ SO WO ST WT โอกาส (O) 1……. 2……. 3…… จุดแข็ง (S) 1……. 2……. 3…… ปัจจัยแวดล้อมภายใน ปัจจัย แวดล้อมภายนอก โอกาส (O) 1……. 2……. 3…… อุปสรรค (T) 1……. 2……. 3……

องค์กร … วิสัยทัศน์ (Vision)

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) องค์กร … ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)

องค์กร … เป้าประสงค์ (Goals)

ยุทธศาสตร์ (Strategies) องค์กร ….......................... ยุทธศาสตร์ (Strategies)