งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

2 อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มของประชากร ปี 2555
ระดับประเทศ 18.4 2

3 อัตราป่วยของผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก ปี 2555
ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2556 3

4 อัตราตายของประชากร 5 อันดับแรก ปี 2555
ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2556 4

5 สถานการณ์การป่วยและตาย
ด้วยโรคติดต่อ

6 อัตราป่วยด้วยโรคที่ติดต่อที่นำโดยแมลง ปี 2551 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง
อัตราต่อแสนประชากร ปี (พ.ศ.) แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

7 อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2551 – 2555
อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง อัตราต่อแสนประชากร ปี (พ.ศ.) แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

8 อัตราป่วยด้วยโรคที่ติดต่อทางอาหารและน้ำเป็นสื่อ ปี 2551 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง
อัตราต่อแสนประชากร ปี (พ.ศ.) แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

9 สถานการณ์ด้านอนามัยแม่และเด็ก

10 อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ 2544 – 2555
อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 ปีงบฯ56 ผลงาน ตค. 55 – มีค. 56 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

11 อัตราตายปริกำเนิดของทารก ปีงบประมาณ 2544 – 2555
อัตราตายปริกำเนิดของทารก ปีงบประมาณ – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 งบ, 56 ผลงาน ตค. 55 – มีค. 56 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

12 อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2544 – 2555
อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

13 อัตราหญิงคลอดบุตรต่ำกว่า 20 ปี 2544 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง
ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

14 อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ 2553 – 2555
อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ – 2555 เป้าหมายไม่เกิน 18 : 100,000 การเกิดมีชีพ (ประเทศ) 24 : 100,000 การเกิดมีชีพ (5 จชต.) Institute for Health Metrics and Evaluation ระดับประเทศ จากรายงาน ปี แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : คาดประมาณโดย IHME อ้างถึงใน รายงานประจำปี กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

15 อัตราตายปริกำเนิดของทารก เป้าหมายไม่เกิน 9 : 1,000 ทารกคลอดทั้งหมด
แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : รายงานประจำปี กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

16 อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 ระดับประเทศ 18.4 แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : รายงานประจำปี กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

17 อัตราหญิงคลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10
เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 ประเทศร้อยละ 18 แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : รายงานประจำปี กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

18 สถานการณ์ทันตสุขภาพ

19

20

21 สถานการณ์ผลกระทบ จากปัญหาความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนใต้

22 อัตราการบาดเจ็บและตายจากความรุนแรง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ปี 2550-2555
ระดับประเทศ 18.4 22

23 SWOT

24 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การพัฒนาระบบสุขภาพเครือข่ายบริการสุขภาพ ปีงบฯ ๒๕๕๕
สถานการณ์ ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพ ๑.นโยบายของส่วนกลาง สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที ๒.กระทรวงฯ มีนโยบายสนับสนุน งบประมาณแบบ Box Grant ๓.ภาคีเครือข่าย /สมาคม อสม./ ภาคประชาชน มีความเข้มแข็ง ๔.ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี สารสนเทศช่วยให้การบริการจัด การงานสะดวกขึ้น ๕.มีกองทุนสุขภาพตำบล และกองทุน อืน ๆ ในพื้นที่สนับสนุนงานด้าน สุขภาพ ๖.ประชาชนยอมรับการแพทย์แผนไทย เพิ่มมากขึ้น ๑.ประชาชนมีความเชื่อถือในโรงพยาบาล ระดับสูงที่การรักษาซับซ้อน ส่งผลให้เกิด ความแออัดมากขึ้น ๒.ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยง(บริโภคหวาน มัน เค็ม) ที่ส่งผลต่อการป่วยด้วยโรคเรื้อรังสูง ๓.พื้นที่มีโรคระบาดต่อเนื่อง(ไข้เลือดออก โรคคอตีบ) ๔.ขาดการบูรณาการดำเนินงานอาหาร ปลอดภัยทั้งในระดับเขตและพื้นที่ ๕.ปัจจัยด้านสังคม/สิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และการใช้สารเสพติด ๖.ปัญหาความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ทำให้การปฏิบัติงานเชิงรุกยากขึ้น ๗.ประชากรในพื้นที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้มีวัยพึ่งพิงด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ๘.ท้องถิ่นยังจัดการด้านขยะและและสิ่งแวดล้อม ยังไม่ดีพอทำให้เกิดผลกระทบสุขภาพ O T

25 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การพัฒนาระบบสุขภาพเครือข่ายบริการสุขภาพ ปีงบฯ ๒๕๕๕
๑.แต่ละจังหวัดมี รพสต.ครอบคลุมทุกพื้นที่ ๒.มี อสม.รับผิดชอบครอบคลุมทุกหลังคาเรือน ๓.หน่วยบริการมีโปรแกรมสำเร็จรูปในการ บันทึกการบริการที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม ๔.หน่วยบริการมีนักจัดการสุขภาพครอบครัว ที่เพียงพอ ๕.พื้นที่มีนวตกรรมสร้างสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทุกปี ๖.มีงบประมาณเพียงพอในการแก้ปัญหาระดับ พื้นที่ ๗.ระดับเขตมีนโยบายในการขับเคลื่อนงาน และมีถ่ายทอดลงสู่ระดับพื้นที่ที่ชัดเจน ๘.มีแหล่งงบประมาณในการสนับสนุนการ แก้ปัญหาจากหลายแหล่ง (สป.สช./ผลผลิต/ สสส./สช) กลยุทธ์ (S/O) ๑.จัดการสุขภาพเชิงรุกโดย กระบวนการเรียนรู้ตามบริบท ชุมชน (S1,2,4,5,6,7,8, O1,2) ๒.สร้างรูปแบบการจัดการสุขภาพเชิง รุกแบบมีส่วนร่วม (S1,2,4,7 O1,3,5,6) ๓.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ เป็นเอกภาพและเชื่อมโยงทุกระดับ (S!, O1,4) ๔.สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ พัฒนานวัตกรรมชุมชน (S1,5,6 O1,4) กลยุทธ์ (S/T) ๑.ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนโดยนักจัดการสุขภาพ ครอบครัวและภาคเครือข่าย (S4,5 T2,4) ๒.พัฒนาระบบการจัดการภัยสุขภาพและ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดยการบูรณา การทุกภาคส่วน (S4,7,8 T3,5,6,8) ๓.พัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้มี ประสิทธิภาพพร้อมบริการขั้นพื้นฐาน ที่เต็มรูปแบบ (S1,2,3,4,6,8 T1,6,7) S

26 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การพัฒนาระบบสุขภาพเครือข่ายบริการสุขภาพ ปีงบฯ ๒๕๕๕
๑.ระดับเขตมีโครงสร้าง/องค์กร ไม่ชัดเจน ๒.การบูรณาการงานในเครือข่ายยังไม่มี ประสิทธิภาพเท่าที่ควร ๓.ระดับเขตยังไม่มีศูนย์ข้อมูลที่ชัดเจน ๔.หน่วยบริหาร/หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ คุณภาพตามมาตรฐานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ (รพศ/รพท./รพช.ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๕๒.๖๓) ๕.หน่วยงานบริการบางแห่ง (๒๖ แห่งใน ๗๔ แห่ง) ไม่มีสภาพคล่องทางการเงิน ๖.บุคลากรสาธารณสุขเฉพาะสาขายังไม่เพียงพอ ในบางพื้นที่ (ทันตแพทย์ แพทย์เฉพาะสาขา) กลยุทธ์ (W/O) ๑.เสริมสร้างรูปแบบการจัดการ สุขภาพแบบมีส่วนร่วม (W1,2 O1,2) ๒.ส่งเสริมการจัดบริการการแพทย์ ไทย การแพทย์ทางเลือกให้มี บริการทุกระดับ (W2,3,4,5 O5,6) ๓.พัฒนาคุณภาพหน่วยงานให้ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานโดยเครือข่าย พี่ช่วยน้อง (W4,5,6 O1,2,3,5) กลยุทธ์ (W/T) ๑.พัฒนาระบบการจัดการองค์กร ภายใต้ภาวะวิกฤติแบบ บูรณาการ (W1,2,3,4,6 T6) ๒.พัฒนาระบบการเงินการคลังให้ ได้ตามมาตรฐานการควบคุม ภายใน (W2,4,5 T1) W

27 และการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
สรุปปัญหาสาธารณสุข และการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

28 สรุปปัญหาสาธารณสุขของเครือข่ายบริการสุขภาพ ที่ 12 โดยคณะกรรมการบริหารในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ
ปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ประกอบด้วยการตายด้วยโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดสมอง และการป่วยด้วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหา โดยเฉพาะไข้เลือดออก โรคมือเท้าปากและไข้มาลาเรีย ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก ประกอบด้วย มารดาตาย ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ การคลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี ปัญหาอุบัติเหตุจราจร การปัญหาความความไม่ปลอดภัยใน 3 จังหวัดชายแดน ปัญหาสุขภาพช่องปาก (เด็กปฐมวัยฟันน้ำนมผุ และเด็กนักเรียนประถมฟันผุ) ปัญหายาเสพติด

29 ลำดับความสำคัญของปัญหา
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ปัญหา  สถาน การณ์ ลำดับความสำคัญของปัญหา ขนาด ความรุนแรง นโยบาย การยอมรับ คะแนนรวม ลำดับ ๑.การตายด้วยโรคมะเร็ง (ต่อแสน ปชก.) 32.94 5 4 19 1 ๒. การตายด้วยโรคหัวใจ (ต่อแสน ปชก.) 27.78 ๓. การตายโรคหลอดเลือดสมอง(ต่อแสน ปชก.) ๒๑.๕๑ ๔. การป่วยด้วยโรค DM/HT(ต่อแสน ปชก.) ๒,๕๘๒ ๕. ความแออัดของการเข้ารับบริการใน รพ.รัฐ 2 3 14 ๖. โรคโลหิตจาง/ภาวะซีดในหญิงมีครรภ์(ร้อยละ) 14.7 1๖ ๗. มารดาตาย (ต่อแสนการเกิดมีชีพ) 30.1 16 ๘. ทารกตายปริกำเนิด(ต่อพันทารกคลอด) 7.1 ๙. การตั้งครรภ์ต่ำกว่า 20 ปี (ร้อยละ) 12.00 7

30 ลำดับความสำคัญของปัญหา <ร้อยละ ๙๐ ทุกชนิดวัคซีน
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ปัญหา  สถานการณ์ ลำดับความสำคัญของปัญหา ขนาด ความรุนแรง นโยบาย การยอมรับ คะแนนรวม ลำดับ ๑๐. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (ต่อแสนคน) 13๓.๗๑ 5 4 3 17 2 ๑๑. อัตราการป่วยด้วยไข้มาลาเรีย (ต่อแสนคน) ๔๔.๙๘ ๑๐ ๑๑. การระบาดของโรคมือเท้าปาก ๔๔.๙๖ 14 7 ๑๒. ฟันผุเด็ก ๓ ปี/ฟันผุ เด็ก ๑๒ ปี 68.92/ 53.57 1๖ ๑๔. การบาดเจ็บด้วยอุบัติเหตุ 19.2 ๑๕. ความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก ๐-๕ ปีต่ำ (ใน ๓ จังหวัดภาคใต้) <ร้อยละ ๙๐ ทุกชนิดวัคซีน 15 6 ๑๖. อัตราการป่วยด้วยโรคคอตีบ 0.32 ๑๗. อัตราการป่วยด้วยไข้มาลาเรีย(ต่อแสนคน) 1 10 9

31 ลำดับความสำคัญของปัญหา
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ปัญหา สถานการณ์ ลำดับความสำคัญของปัญหา ขนาด ความรุนแรง นโยบาย การยอมรับ คะแนนรวม ลำดับ ๑๘. ปัญหาสุขภาพจิต (ผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงฯ) 23.12 3 12 8 ๑๙. ประชาชนเสพยาเสพติด 5 1๗ ๒๐. ประชาชนได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ความไม่สงบ (บาดเจ็บ/ตาย ต่อแสนคน) ๔๑.0/ 12.0 16

32 แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข
เพื่อสนองนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชน โดย นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประชาชนได้อะไร (ผลลัพธ์สุขภาพ : Health Outcome) ๑.๑ ลดแม่ตาย ลูกตาย ๑.๒ เพิ่มพัฒนาการ “ไอคิวเด็ก วัคซีนครอบคลุมจริง” ๑.๓ หยุดปัจจัยเสี่ยง ชะลอโรคเรื้อรัง กลุ่มดี (การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค:P&P) ๒.๑ กำหนดเป้าหมายและมาตรการตามกลุ่มอายุ และเชิงประเด็น ๒.๒ บูรณาการในระดับพวงบริการ เชื่อมกับระบบบริการ ๒.๓ การจัดงบประมาณสนับสนุนอย่างมีส่วนร่วมและการกำกับ กลุ่มป่วย (การจัดระบบบริการและการลงทุน : Service Plan) ๓.๑ ลดความแออัด รับบริการใกล้บ้าน ๓.๒ การส่งต่อไร้รอยต่อ เบ็ดเสร็จในพวงบริการ ๓.๓ คุณภาพและความปลอดภัยบริการ ๓.๔ แผนการลงทุนที่ตอบสนองเป้าหมายสุขภาพ เป็นธรรม ๓.๕ เพิ่มประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า

33

34

35

36

37 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

38 วิสัยทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี มีความพึงพอใจ และมีระบบบริการสุขภาพที่เป็นเลิศ นิยามวิสัยทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี หมายถึง ประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการด้านสุขภาพที่เป็นองค์รวม เสมอภาค สามารถดูแลตนเองเบื้องต้นได้ และอยู่ในสังคมได้ตามสภาวะและบริบททางสังคมที่เหมาะสม ประชาชนมีความพึงพอใจ หมายถึง ประชาชนพึงพอใจต่อระบบบริการและบริการที่ได้รับ รวมทั้งสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพที่เป็นเลิศ หมายถึง การมีระบบบริการมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มีความเชื่อมโยงและไร้รอยต่อในทุกระดับ ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ มีผลงานทางวิชาการที่รองรับระบบบริการ และมีผลการประเมินตามตัวชี้วัดอยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศ

39 พันธกิจ ๑.พัฒนาคุณภาพระบบบริการ และสนับสนุน/จัดหาเครื่องมือ/อุปกรณ์ ให้หน่วยบริการตามมาตรฐาน ๒.ส่งเสริมการจัดหน่วยบริการด้านสุขภาพให้ครอบคลุมพื้นที่ในการ ให้บริการประชาชน ๓.ส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและภาคีเครือข่าย ๔.จัดระบบการประเมินผลงานและควบคุมกำกับให้เป็นไปตามแผนที่ กำหนด ๕.บริหารจัดการด้านการพัฒนาบุคลากรและการกระจายบุคลากรอย่าง ทั่วถึง เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ๖.จัดประกวดและนำเสนอผลงานด้านวิชาการระดับเขต

40 ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑.พัฒนาคุณภาพระบบบริการที่เชื่อมโยงทุกระดับ
๒.พัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มี คุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ๓.พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการ ๔.พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการจัดการที่มี ประสิทธิภาพ

41 เป้าประสงค์ ๑.ระบบบริการสุขภาพมีคุณภาพและเชื่อมโยงทุกระดับ ๒.มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ๓.โรคที่เป็นปัญหาสำคัญระดับเครือข่ายลดลง ๔.ปัญหาอนามัยแม่และเด็กลดลง ๕.ปัญหาสุขภาพของประชาชนในแต่ละกลุ่มเป้าหมายลดลง ๖.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ๗.ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย ๘.ระบบการเงินการคลังมีประสิทธิภาพ ๙.ระบบบริหารจัดการบุคลากรมีประสิทธิภาพ และบุคลากรมีความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน ๑๐.ระบบข้อมูลและสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงทุกระดับ

42 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google