แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน และการเบิกวัคซีนโรต้า จ.เพชรบูรณ์ ภญ.ปิยะนาถ เชื้อนาค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แนวทางการบริหารจัดการวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อน ฤทธิ์ สายพันธุ์ SA Lived Attenuated Japanese Encephalitis SA
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การติดตาม (Monitoring)
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562 ภญ.กัลยา สกุลไทย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จ.ขอนแก่น

ความเป็นมา กรมควบคุมโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้คำแนะนำของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ได้พิจารณานำ วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี และฮิบ (DTP-HB-Hib) ทดแทนวัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตับอักเสบบี (DTP-HB) มาให้บริการในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คาดว่าจะเริ่มนำมาให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายได้ในช่วงเดือน มิถุนายน 2562 เป็นต้นไป

โรคติดเชื้อฮิบ สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อฮีโมฟีลุส อินฟลูเอนเซ ชนิดบี (Heamophilus influenzae type b หรือ Hib) เป็นสาเหตุหลักของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบในเด็กเล็ก และยังอาจก่อให้เกิด ปอดอักเสบ ติดเชื้อในกระแสเลือด เป็นต้น สามารถติดต่อทางละอองฝอยจากทางเดินหายใจ หรือจากการสัมผัสโดยตรง มักพบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี โรคติดเชื้อฮิบสามารถป้องกันได้โดยการฉีดวัคซีน ที่มีส่วนประกอบของเชื้อฮิบในวัคซีน

ตารางการให้วัคซีนและกลุ่มเป้าหมาย ฉีดวัคซีน DTP-HB-Hib จำนวน 3 โด๊ส ในเด็กอายุ 2 , 4 และ 6 เดือน ระยะเวลาสั้นที่สุดที่สามารถให้วัคซีนได้กรณีเด็กรับวัคซีนล่าช้า คือ แต่ละโด๊สห่างกันอย่างน้อย 4 สัปดาห์

ข้อมูลวัคซีน องค์ประกอบหลักของวัคซีน: เป็นสารแขวนตะกอน ประกอบด้วย 1) ท็อกซอยด์ (พิษที่ถูกทำให้เสียสภาพความเป็นพิษแล้ว) ของเชื้อคอตีบ (Corynebacterium diphtheriae) 2) ท็อกซอยด์ของเชื้อบาดทะยัก (Clostridium tetani) 3) แอนติเจนส่วนผิวของเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) และ 4) โพลีแซคคาไรด์จากผิวเซลล์ของเชื้อฮิบที่ถูกเชื่อมกับท็อกซอยด์ของเชื้อบาดทะยัก ขนาดบรรจุ: 10 โด๊สต่อขวด (ปริมาตรต่อขวด 5 มิลลิลิตร) ขนาดและวิธีใช้: ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตร เข้ากล้ามเนื้อต้นขาส่วนบนบริเวณ ส่วนหน้าด้านข้าง (anterolateral)

ข้อห้ามใช้ เด็กที่ทราบว่ามีภาวะภูมิไวเกิน (hypersensitivity)ต่อส่วนประกอบในวัคซีน หรือมีอาการของ ภาวะภูมิไวเกินหลังจากได้รับการฉีดวัคซีน DTP-HB-Hib เข็มก่อน เด็กที่เริ่มมีหรือสงสัยว่ามีอาการเกี่ยวกับระบบประสาท (neurological condition) เด็กที่เคยมีภาวะสมองอักเสบ (encephalopathy)ที่ไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งเกิดภายใน 7 วันหลังจากฉีด วัคซีนป้องกันโรคไอกรนเข็มก่อน หรือความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาทที่เป็นมากขึ้น กรณี ดังกล่าว เด็กยังสามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ตับอักเสบบี และฮิบได้หลังจาก ได้รับการประเมินจากแพทย์แล้ว กรณีที่เด็กมีไข้รุนแรงอย่างเฉียบพลันให้เลื่อนการฉีดวัคซีนออกไปก่อน ปฏิกิริยาภายหลังจากฉีดวัคซีน: อาการที่พบบ่อยได้แก่ เจ็บ บวมแดงบริเวณที่ฉีด ไข้ อาเจียน ร้องไห้ ง่วงซึม เบื่ออาหาร และหงุดหงิดง่าย อาการเหล่านี้สามารถหายได้เองภายใน 7 วัน

การปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ในการให้บริการวัคซีนDTP-HB-Hib การเตรียมกลุ่มเป้าหมาย: เด็กอายุ 2 , 4 และ 6 เดือนซึ่งสามารถตรวจสอบได้ จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ข้อมูลเด็กแรกเกิดของโรงพยาบาลแม่ข่าย การเยี่ยม บ้าน/เยี่ยมหลังคลอด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีนในแต่ละรอบบริการและการเบิกวัคซีน หน่วยบริการ: คาดประมาณจากจำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่นัดหมาย, เด็กที่ พลาดนัดรับวัคซีนในครั้งที่ผ่านมา และเด็กนอกพื้นที่ที่ไม่ได้นัดแต่มาขอรับ บริการ

การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีนในแต่ละรอบบริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ที่ใช้เป็นชนิดmultiple dose จำนวน 10 โด๊ส ซึ่งมีอัตราสูญเสีย วัคซีนร้อยละ 25 หรือคิดเป็นตัวคูณการสูญเสียวัคซีนเท่ากับ 1.33 การคำนวณวัคซีนที่ต้องการใช้ในแต่ละรอบใช้สูตร ดังนี้ จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (โด๊ส) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย x 100 (100 - อัตราสูญเสียวัคซีน) ดังนั้น จำนวนวัคซีน DTP-HB-Hib ที่ต้องการใช้ = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย x 1.33

การเบิกวัคซีน หน่วยบริการ: ใช้ใบเบิกวัคซีน ว.3/1 ในการเบิกวัคซีน โดยกรอกข้อมูลการเบิกวัคซีน และผลการให้วัคซีนใน เดือนที่ผ่านมาให้ครบถ้วนและถูกต้อง แล้วส่งแบบฟอร์ม ว. 3/1 ดังกล่าวให้สำนักงาน สาธารณสุขอำเภอทาง e-mail หรือตามระบบปกติ ภายในเวลาที่กำหนด สำหรับหน่วยบริการ ที่อยู่ในโรงพยาบาลให้ส่งแบบฟอร์ม ว. 3/1 ให้ฝ่ายเภสัชกรรมของโรงพยาบาลที่เป็นคลัง วัคซีนทาง e-mail หรือตามระบบปกติ ภายในเวลาที่กำหนด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ: ตรวจสอบจำนวนการเบิกวัคซีนของหน่วยบริการลูกข่ายว่าความสอดคล้องกับจำนวนเด็ก กลุ่มเป้าหมาย ที่จะให้บริการจริงรวมทั้งจำนวนวัคซีนที่คงเหลือในหน่วยบริการ ก่อนส่ง ต่อไปยังฝ่ายเภสัชกรรมของโรงพยาบาลที่เป็นคลังวัคซีนทาง e-mail หรือตามระบบปกติ ภายในเวลาที่กำหนด

การเบิกวัคซีน คลังวัคซีน: เบิกและรับวัคซีนตามระบบ VMI โดยองค์การเภสัชกรรมจะใช้ค่า ROP และ Max Limit ของ DTP-HB-Hib เท่ากับ DTP-HB ซึ่งคาดว่าองค์การเภสัชกรรมจะเริ่มกระจายวัคซีนไปยัง CUP ในช่วง มิถุนายน 2562 จ่ายวัคซีน DTP-HB ให้หมดก่อน แล้วจึงจ่าย DTP-HB-Hib ให้กับหน่วยบริการในพื้นที่ที่ รับผิดชอบ ตรวจสอบจำนวนการเบิกวัคซีนของหน่วยบริการในโรงพยาบาล และสุ่มตรวจสอบจำนวน การเบิกวัคซีนของหน่วยบริการลูกข่ายเช่นกัน ว่ามีความสอดคล้องของกับจำนวนเด็ก กลุ่มเป้าหมายที่จะให้บริการจริงรวมทั้งจำนวนวัคซีนที่คงเหลือในหน่วยบริการ การเก็บรักษาวัคซีนในระบบลูกโซ่ความเย็น: เก็บวัคซีนไว้ในช่อง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส ห้ามแช่แข็ง

การให้บริการและเฝ้าระวังอาการหลังฉีดวัคซีน ขอให้ใช้วัคซีน DTP-HB ให้หมดก่อน จึงเริ่มใช้วัคซีน DTP-HB-Hib ตรวจสอบความพร้อมของผู้รับบริการก่อนให้บริการวัคซีน ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตร โดยเขย่าขวดก่อนใช้เพื่อให้วัคซีนเป็นเนื้อเดียวกัน สังเกตด้วยตาเปล่าว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในวัคซีน และฉีดวัคซีนเข้า กล้ามเนื้อต้นขาส่วนบนบริเวณส่วนหน้าด้านข้าง ขวดวัคซีนที่เปิดแล้ว : ใช้ภายใน 8 ชั่วโมงหลังเปิดขวด

การให้บริการและเฝ้าระวังอาการหลังฉีดวัคซีน (ต่อ) หลังฉีดวัคซีนให้สังเกตอาการของเด็กอย่างน้อยครึ่งชั่วโมงหลังฉีดวัคซีน หากมีอาการผิดปกติรุนแรงควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและดำเนินการส่งต่อ โรงพยาบาล/รักษาต่อไป หากพบอาการที่เข้ากับนิยามอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีน ของสำนักระบาดวิทยา ภายหลังได้รับวัคซีนครั้งสุดท้ายภายใน 4 สัปดาห์ และแพทย์ได้วินิจฉัยแล้ว ที่ให้รายงานไปยังสำนักระบาดวิทยา โดยใช้แบบ รายงาน AEFI 1 และ AEFI 2

การบันทึกการให้บริการและการจัดทำรายงาน การบันทึกการให้บริการในฐานข้อมูลสุขภาพ (43 แฟ้ม) รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย อายุ (เดือน)/กลุ่มเป้าหมาย รหัส ICD-10-TM D21 DTP-HB-Hib 1 ดีทีพีตับอักเสบบีฮิบ 1 2 เดือน Z27.1, Z24.6, Z24.1 D22 DTP-HB-Hib 2 ดีทีพีตับอักเสบบีฮิบ 2 4 เดือน D23 DTP-HB-Hib 3 ดีทีพีตับอักเสบบีฮิบ 3 6 เดือน

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีน DTP-HB-Hib ในเด็กอายุครบ 1 ปี = จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปีในพื้นที่รับผิดชอบได้รับวัคซีน DTP-HB-Hib ครบตามเกณฑ์x 100 จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปีทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบ

โปรดดูแลหนูด้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ 15