บทที่ 4 การประเมินคุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคำนวณทางวิศวกรรม (Engineering Computation) สำหรับนักศึกษา 2G/2
Advertisements

Chapter 1 Introduction to Information Technology
Pull down menu Pull down menu แบบการโต้ตอบที่รายการ
ระบบสารสนเทศ.
การพิมพ์ฉลากยาโดยใช้โปรแกรมJHCIS
บทที่ 7 กระบวนการในการ สร้างเนื้อหาเว็บ. 1. การสร้างเนื้อหา (Create content) 1. สร้างเนื้อหาโดยตรง จากระบบ 2. นำเข้าไฟล์เนื้อหา.
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
ประเมินหลังการรับบริการ
สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยโปรแกรม Moodle
แผนผังการวาง Access point ห้อง ประชุม Kk4_04 Kk4_02 Kk4_01 Kk4_05 หน้าเวที ภาพที่ 1.
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
Verification & Validation K.Mathiang. Objective สามารถอธิบายผังขั้นตอนการออกแบบระบบ ดิจิทัลได้ สามารถอธิบายความเกี่ยวข้องของการทวนสอบ (Verification) กับการออกแบบระบบดิจิทัลได้
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
LOGO ระดมสมอง สีเขียว. ปัญหาและอุปสรรคแนวทางการพัฒนา ด้าน System 1. ระบบเครือข่ายไม่ครอบคลุมและ ไม่หลากหลาย 1. ศูนย์สารสนเทศเป็นศูนย์กลางในการ พัฒนาเครือข่ายของกรมและจัดหา.
ตั่งอยู่ที่ (It City ฉะเชิงเทรา ) “ ” - ค้าปลีก - มีฝ่าย บริการ - ค้าส่ง - มี ฝ่ายรับเครื่องซ่อม.
สรุปผลการปฏิบัติงาน ปี การศึกษา 2558 ปีที่ผ่านมา ทำอะไร ? โรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 งานกิจกรรมลูกเสือเนตร.
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
นางสาวธนิสา กองเพ็ชร SC1ED1 B
ตัวอย่าง Format โครงงานครั้งที่ 2
ส่งเสริมให้คำที่ปรึกษาและบริการความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้นของบุคลากรกรมเจ้าท่า
การติดตั้งโปรแกรม.
เทคนิคในการทำคู่มือ สำหรับยื่นขอชำนาญการ
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ครูสมศรีกับยุคปฏิรูปการศึกษา
ดร.เกศรี วิวัฒนปฐพี การสร้างเครือข่าย
1. วิธีการ Set ค่าคอมพิวเตอร์ก่อนติดตั้ง
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
แหล่งสารสนเทศ 4.2 สารสนเทศทุติยภูมิ ดร.นฤมล รักษาสุข
บทที่ 6 : Firewall Part3 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
การเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน สวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการ
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
Introduction to Arduino UNO
Register คลิก register.
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
Operating System Overview
บทที่ 2 ซอฟต์แวร์ รายวิชา ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อ.อภิพงศ์ ปิงยศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
การสร้างบุคลิกภาพในงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทาง DNA ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การเปลี่ยนจากระบบ ซี สู่ระบบ แท่ง
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ยินดีต้อนรับนักเรียน!
Inheritance Chapter 07.
ปฏิบัติการที่ 10 การหาค่าเหมาะที่สุดโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
คู่มือการใช้บริการ CIP
Homepage.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เทคนิคการเขียน Resume
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
เสียง.
บทที่ 7 บรรณานุกรม ข้อมูล.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การประเมินคุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ บทที่ 4 การประเมินคุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ การศึกษาถึงคุณค่าของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนที่ จะทำการคัดเลือกและสั่งซื้อเข้ามาในห้องสมุด ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทควรผ่านการ ประเมินคุณค่าก่อนที่จะนำเข้ามา ทั้งนี้เพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ใช้ และห้องสมุด

การประเมินทรัพยากรสารสนเทศ ความหมาย : วิธีที่ใช้เพื่อพิจารณาตัดสินคุณค่าของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ ข้อดี ความมีคุณค่ามาก หรือน้อย ความเหมาะสมกับบุคคล ข้อด้อย บกพร่อง

ประโยชน์ของการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ เป็นแนวทางในการเลือกและจัดหาทรัพยากร สารสนเทศเข้าห้องสมุด ใช้เป็นประโยชน์ในการแนะนำผู้ใช้ห้องสมุด เปรียบเทียบระดับคุณค่าหรือประโยชน์ของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ ทำให้รู้จักทรัพยากรประเภทต่างๆ ในแต่ละสาขาวิชา กว้างขวางขึ้น

หลักการประเมินทรัพยากรสารสนเทศ สิ่งที่ควรคำนึง:…….. หลักในการเลือกทรัพยากร และประเภทที่จะประเมินค่า รู้จักใช้เครื่องมือในการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ทราบวัตถุประสงค์และนโยบายการเลือกและจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด ทราบวิธีการอ่านหนังสือเพื่อประเมินค่า ทราบวิธีการบันทึกผลการประเมินค่า

เกณฑ์ในการประเมินคุณค่า ผู้จัดทำ AUTHOR ขอบเขตของเนื้อหา SCOPE เหมาะสมกับเวลา TIMELINES /CURRENCY ระดับผู้อ่าน LEVEL การเรียบเรียงเนื้อหา ARRANGEMENT รูปแบบ FORMAT ราคา (แพง แต่คนใช้เยอะ OK) ลักษณะพิเศษอื่นๆ SPECIAL FEATURE (ให้สารสนเทศที่ไม่มีในชื่อเรื่องอื่น, ค้นข้อมูลง่ายกว่า)

วิธีการประเมินคุณค่า การประเมินคุณค่าหนังสือแต่ละประเภท อ่านหนังสือเรื่องนั้นโดยละเอียด กำหนดสิ่งประทับใจที่ได้รับทั้งด้านดีและในส่วนที่บกพร่อง พิจารณาคุณค่าของหนังสือนั้นตามลักษณะประเภทหนังสือ เปรียบเทียบกับหนังสือที่อยู่ในประเภทเดียวกัน บันทึกผลการประเมินคุณค่าของหนังสือ วิธีการประเมินคุณค่า

ตัวอย่างแบบประเมินคุณค่าหนังสือสารคดี รายละเอียดทางบรรณานุกรม ชื่อผู้แต่ง.........................................ชื่อหนังสือ............................................................................... ครั้งที่พิมพ์......................สถานที่พิมพ์.....................สำนักพิมพ์............................ปีพิมพ์.............. ISBN...........................จำนวน.....................หน้า/เล่ม ราคา....................บาท ประเภท/ขอบเขตเนื้อหา................................................................................................................ ประเภทหนังสือ....................................................................................................................... ขอบเขตเนื้อหา/บรรณนิทัศน์.................................................................................................... การนำเสนอ/วิธีเขียนรูปเล่ม ........................................................................................................ กระดาษ ......................................................ปก......................................................................... การพิมพ์................................................................ตัวพิมพ์......................................................... ความเหมาะสมกับผู้อ่าน................................................................................................................. เหตุผลที่ซื้อหรือไม่ซื้อ...................................................................................................................... ผู้ประเมิน..............................................วันเดือนปี.......................

ตัวอย่างแบบประเมินคุณค่าหนังสือนนิยาย/เรื่องสั้น รายละเอียดทางบรรณานุกรม ชื่อผู้แต่ง.........................................ชื่อหนังสือ............................................................................... ครั้งที่พิมพ์......................สถานที่พิมพ์.....................สำนักพิมพ์............................ปีพิมพ์.............. ISBN...........................จำนวน.....................หน้า/เล่ม ราคา....................บาท ประเภทวรรณกรรม.................................................................................................................... บรรณนิทัศน์................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... คุณค่าทางวรรณกรรม ..................................................................................................................... ความเหมาะสม/ระดับผู้อ่าน............................................................................................................. เหตุผลที่ซื้อหรือไม่ซื้อ...................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผู้ประเมิน..............................................วันเดือนปี.......................

หนังสือปกอ่อน เป็นหนังสือที่มีราคาถูก เพราะต้นทุนการผลิตต่ำกว่า หนังสือปกแข็งโดยทั่วไป สถิติการจำหน่ายสูง เพราะราคาไม่แพง และหาซื้อได้ง่าย มีจำหน่ายทั่วไป ในการเลือกหนังสือประเภทนี้ ต้องพิจารณา กระดาษที่ใช้ทำปก การเข้าเล่ม ข้อความแต่ละหน้ามากเกินไป ตัวอักษรมีขนาดเล็ก อ่านได้ยาก กระดาษของหนังสือปกอ่อนมักมีคุณภาพต่ำ

สนองความต้องการตามธรรมชาติของเด็ก ภาษา ภาพประกอบ ราคา รูปเล่ม หนังสือสำหรับเด็ก สนองความต้องการตามธรรมชาติของเด็ก ภาษา ภาพประกอบ ราคา รูปเล่ม

หนังสือสำหรับเด็ก หนังสือสำหรับเด็กเริ่มหัดอ่าน ได้แก่ เด็กอายุระหว่าง 3-6 ปี หนังสือสำหรับเด็กระดับนี้ ควรเป็นเรื่องที่ เข้าใจง่าย ไม่ยุ่งยากอะไรเกินกว่าที่เด็กจะคิดตามหรือจดจำ ควรเป็นภาษาง่ายๆ สั้นและชัดเจน ขนาดตัวอักษรควรใหญ่เพียงพอและเหมาะสำหรับเด็กอ่าน ควรมีภาพจำนวนมาก และชัดเจน มีสีสันสวยงาม

หนังสือสำหรับเด็กประถมศึกษา ได้แก่ อายุระหว่าง 6-11 ปี หนังสือสำหรับเด็กประถมศึกษา ได้แก่ อายุระหว่าง 6-11 ปี อาจมีเนื้อหายากขึ้นกว่าระดับแรก เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เช่น เรื่องการผจญภัย เรื่องเกี่ยวกับสัตว์ ธรรมชาติ คน มีภาพพอๆกับเนื้อหาของหนังสือ แต่อาจจะน้อยกว่า ระดับแรก ใช้ภาษาสั้นๆและเข้าใจง่าย ตัวอักษรขนาดใหญ่ เพื่อให้อ่านง่ายและภาพมีสีสันสวยงาม

หนังสือสำหรับเด็กก่อนวัยรุ่น ได้แก่ เด็กอายุระหว่าง 11-14 ปี หนังสือสำหรับเด็กก่อนวัยรุ่น ได้แก่ เด็กอายุระหว่าง 11-14 ปี เนื้อเรื่องเกี่ยวกับการสะท้อนชีวิตในวัยเด็กของตัวละคร ควรมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับจิตวิทยาเด็ก หลักปรัชญา ศีลธรรม จรรยา ภาพประกอบจะมีน้อยลง หรืออาจไม่มีภาพประกอบก็ได้ ภาษาที่ใช้ควรอ่านง่าย และเข้าใจได้ดี

หนังสือตำราเรียน หมายถึง หนังสือแบบเรียนวิชาใดวิชาหนึ่งสำหรับ นักเรียนใช้ในชั้นเรียน หรือตำราเพื่อประกอบการเรียน วิชาใดวิชาหนึ่ง ซึ่งผู้เรียนต้องมีไว้ครอบครองเพื่อช่วยให้ การเรียนเป็นไปด้วยดี ห้องสมุดส่วนใหญ่ไม่มีนโยบายการเลือกตำราเรียน หรือแบบเรียนเข้าห้องสมุด

หนังสือแปล เป็นหนังสือถ่ายทอดจากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้ วิธีการแปลแบบคำต่อคำตามต้นฉบับเดิม หรือการแปลโดยใช้ วิธีสรุปความ ในการเลือกควรพิจารณาภาษาแปลที่อ่านแล้วราบรื่น สละสลวย เข้าใจง่าย และรักษาเนื้อเรื่องของต้นฉบับเดิมไว้อย่างครบถ้วน ต้องมีความน่าเชื่อถือ หนังสือแปลประเภทวิชาการที่ควรเลือกเข้าห้องสมุด ได้แก่ งานแปลของสำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

หนังสืออ้างอิง หนังสือที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ค้นหาคำตอบหรืออ้างอิง ข้อเท็จจริงบางอย่าง โดยทั่วไปหนังสืออ้างอิงจะมี การจัดทำอย่างดี มีลักษณะพิเศษ สำหรับใช้ค้นคว้า เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ หนังสืออ้างอิง จึงมีราคาแพง

หนังสืออ่านประกอบ หนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องหรือขยายความเนื้อหาวิชา ที่ระบุไว้ในหลักสูตร จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนใช้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง ตามความเหมาะสมของวัยและความสามารถในการอ่าน ของแต่ละบุคคล ช่วยเสริมความรู้ของผู้เรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีอิสระในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

หนังสือสารคดี ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ราคา ปีพิมพ์ ระดับของผู้ใช้ การเรียบเรียงเนื้อหาและการนำเสนอ ดรรชนีและบรรณานุกรม

หนังสือสารคดี ลักษณะทางกายภาพ: รูปเล่ม การเข้าเล่ม ภาพประกอบ การแนะนำและวิจารณ์หนังสือ

ชื่อเสียงของสำนักพิมพ์ รูปเล่ม ราคา การแนะนำและวิจารณ์ หนังสือนวนิยาย ชื่อเสียงของสำนักพิมพ์ รูปเล่ม ราคา การแนะนำและวิจารณ์ คุณค่าที่ได้จากการอ่านนวนิยาย

วัตถุประสงค์หรือนโยบายของวารสาร บรรณาธิการ บทความที่นำเสนอ รูปเล่ม วารสารและนิตยสาร วัตถุประสงค์หรือนโยบายของวารสาร บรรณาธิการ บทความที่นำเสนอ รูปเล่ม ราคา

หนังสือพิมพ์ ความเที่ยงตรงของการนำเสนอข่าว ใช้ภาษาที่สละสลวย คอลัมน์ต่างๆ ที่นำเสนอ คุณภาพทางการพิมพ์ ราคา

โสตทัศนวัสดุ ความเหมาะสม ความน่าเชื่อถือได้ ความน่าสนใจ ความเหมาะสม ความน่าเชื่อถือได้ ความน่าสนใจ การจัดเนื้อหา การเขียนบรรยายเรื่อง คุณสมบัติทางเทคนิค ราคา ถ้าเป็นซีดีรอมหรือดีวีดี เลือกที่มีปริมาณสารสนเทศเต็มแผ่น ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และเก็บข้อมูลในปริมาณมากกว่า สื่อสิ่งพิมพ์ เป็น Multimedia น่าสนใจกว่าสื่อสิ่งพิมพ์

ฐานข้อมูล หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีเรื่อง Hardware/ Software เข้ามามีส่วนช่วยตัดสินใจ ความสามารถเข้ากับหรือใช้ได้กับ IT เดิม ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมด้าน Hardware/ Software มีระบบการจัดการเพื่อการค้นคืนสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เทคนิคพิเศษในการค้นหาข้อมูล เช่น คลังคำ (Index) ค้นระบุ Fields.. การได้รับอนุญาตเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ - หนังสือ คุ้มครองโดยอัตโนมัติ ตาม พรบ.ลิขสิทธิ์ การได้ License (สิทธิในการใช้ ทำสำเนา ซอฟต์แวร์ และทำสำเนา ข้อมูล)

กรณีฐานข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ ค่าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ จะแตกต่างไปแต่ละอัตรา ค่าใช้ฐาน ค่าคำสั่งพิมพ์ ค่าใช้สารสนเทศบนจอภาพ ฯลฯ บริการจากสำนักพิมพ์/ผู้จัดจำหน่ายฐานข้อมูลจะแตกต่างไป แต่ละฐาน เช่น การคิดค่าบริการในอัตราพิเศษ (ลดราคา) บริการจัดส่งเอกสาร คู่มือการใช้ฐาน (มี? ปรับปรุง?) บริการจัดฝึกอบรมการใช้ฐาน บริการ Newsletter เพื่อใคร ส่งแบบใด ฯลฯ

ให้นักศึกษาเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ๑ รายการพร้อม เขียนบรรณานุกรม จัดทำเกณฑ์การประเมินตามประเภท ของทรัพยากรสารสนเทศนั้น ๆ พร้อมประเมินให้คะแนน มาด้วย

แบบการประเมินหนังสือแบบรูบิคส์

การวิจารณ์หนังสือ/บทวิจารณ์หนังสือ คือ การกล่าวถึงเนื้อหาของหนังสือทั้งข้อดีและ ข้อบกพร่อง ผู้วิจารณ์ควรเป็นผู้มีความสนใจใน เรื่องนั้นๆ เป็นพิเศษ มีความรู้ความเข้าใจอย่าง ลึกซึ้ง สามารถแสดงความคิดเห็นและเหตุผลต่อ งานนั้นๆ โดยใช้กฎเกณฑ์และทฤษฎีที่เป็นที่ ยอมรับ เพื่อชี้ให้ผู้อ่านได้เห็นคุณค่าของหนังสือ เล่มนั้น

การวิจารณ์หนังสือ/บทวิจารณ์หนังสือ คือ การกล่าวถึงเนื้อหาของหนังสือทั้งข้อดีและข้อบกพร่อง ผู้วิจารณ์ควรเป็นผู้มีความสนใจในเรื่องนั้นๆ เป็นพิเศษ มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง สามารถแสดงความคิดเห็น และเหตุผลต่องานนั้นๆ โดยใช้กฎเกณฑ์และทฤษฎีที่เป็นที่ ยอมรับ เพื่อชี้ให้ผู้อ่านได้เห็นคุณค่าของหนังสือเล่มนั้น

ลักษณะของการวิจารณ์หนังสือที่ดี มีแบบแผนการเขียนที่ดี แสดงความคิดเห็นอย่างง่ายๆ เป็นการวิจารณ์ที่เชื่อถือได้ ควรวิจารณ์โดยผู้อ่านหนังสือนั้น จริงๆมีการเปรียบเทียบอย่างรอบคอบกับหนังสือลักษณะ เดียวกันมีการสรุปอย่างกว้างๆ ให้ครอบคลุมทุกประเด็นสำคัญ มีการตัดสินอย่างเที่ยงธรรม ปราศจากอคติ

ตัวอย่างบทวิจารณ์หนังสือ http://www.rvbookthai.com/howrv bookthaireview/ บทวิจารณ์จาก OKNation https://www.dek-d.com/ https://www.se-ed.com/ http://www.chulabook.com/ http://www.praphansarn.com

คำแนะนำสำหรับการวิจารณ์ จากนักวิจารณ์หนังสือ ขั้นตอนแรกของการรีวิวหนังสือ คือการอ่านหนังสือเล่มนั้นให้จบเสียก่อน และจด โน้ตส่วนที่น่าสนใจเก็บเอาไว้ แล้วรู้สึกอย่างไรก็จดเอาไว้ พออ่านหนังสือจบให้เอา ทั้งหมดที่จดเอาไว้มาเรียบเรียง หลังจากนั้นก็จะเป็นเรื่องของการหาข้อมูล หาข้อมูลผู้เขียน หาข้อมูลของหนังสือเล่ม นั้น อ่านบทวิจารณ์ตามบล็อกต่างๆ ดูตามเว็บรีวิวหนังสือของต่างประเทศว่าพวกฝรั่ง เขาคิดกันอย่างไรกับหนังสือเล่มนั้น เพราะว่าการหาข้อมูลจะทำให้เรานำเอา เรื่องราวที่เกี่ยวของหนังสือเล่มนั้นมาเล่าต่อได้ เช่นว่าทำไมหนังสือเล่มนั้นถึงเขียน สไตล์นั้น ทำไมหนังสือเล่มนั้นถึงต้องเน้นเรื่องนั้นเป็นพิเศษ ประวัติความเป็นมาของ ผู้เขียนคนนั้นเป็นอย่างไร หลังจากเรียบเรียงข้อมูลทั้งหมดแล้ว เริ่มทำการเขียนรีวิวหนังสือ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน

คำแนะนำสำหรับการวิจารณ์ จากนักวิจารณ์หนังสือ ส่วนแรกคือการเกริ่นนำ : จะอธิบายคร่าวๆถึงที่มาที่ไปของหนังสือ มี อะไรน่าสนใจเป็นพิเศษ เป็นหนังสือขายดีติดอันดับชาร์ทไหนหรือเปล่า ผู้เขียนเป็นใครมากจากไหน ส่วนที่สองจะเล่าเนื้อหาแบบย่อๆ : การรีวิวในส่วนของเนื้อหา เป็น การนำเอาใจความหลักของหนังสือมาเล่าให้เข้าใจคร่าวๆว่าหนังสือ เกี่ยวกับอะไร โดยที่ต้องระวังว่าจะไม่ไปสปอยล์หรือพูดมากเกินไปจน ทำให้คนที่ยังไม่เคยอ่านหนังสือโดนสปอยล์ โดยเฉพาะหนังสือนิยายนี่ ต้องระวังอย่างมาก

คำแนะนำสำหรับการวิจารณ์ จากนักวิจารณ์หนังสือ ส่วนที่ 3 จะเป็นการวิจารณ์หนังสือ : ต้องอาศัยเรื่องของเหตุผล มากกว่าอารมณ์ อยู่บนฐานของความเป็นจริง อ่านแล้วเป็นอย่างไรก็ ต้องพิมพ์ออกไปอย่างนั้น ทุกอย่างไม่มีการปั้นแต่ง ดีก็คือดี ไม่ดีก็คือไม่ ดี การวิจารณ์ มันไม่ใช่ การจับผิด เมื่อเขียนวิจารณ์เสร็จแล้ว จะต้องอ่านทวนที่เขียนมาทั้งหมด 1 รอบ เพราะเราเขียนให้คนอื่นอ่าน เราก็ควรอ่านสแกนเองก่อนหนึ่งรอบว่า ที่เขียนไปมันอ่านรู้เรื่องหรือไม่อย่างไร

สรุปขั้นตอนการวิจารณ์หนังสือ อ่าน ให้หมด แล้วจดไว้ หาข้อมูลโดยไว ถึงไหนถึงกัน รีบเขียนให้เพลิน ด้วยการเกริ่นนำ ที่สำคัญ นั้นคือเรื่องย่อ เอาพอสังเขป เสร็จแล้ว วิจารณ์บนความเป็นจริง วิจารณ์หนังสือที่ทำบรรณนิทัศน์ด้วย

https://www.se-ed.com/

https://www.se-ed.com/

แสดงรายละเอียดของหนังสือ โดยสังเขป

https://books.google.co.th

https://play.google.com/store/books

สำนักพิมพ์ประพันธสาส์น

บรรณนิทัศน์ (Annotation) การสรุปสาระสำคัญของเรื่องโดยย่อ เพื่อให้ผู้อ่านได้ รู้จักสิ่งพิมพ์เล่มนั้นๆ อย่างคร่าวๆ ซึ่งเป็นคู่มือ แนะนำและช่วยในการคัดเลือกหนังสือเข้าห้องสมุด บรรณนิทัศน์สำหรับผู้อ่าน บรรณนิทัศน์สำหรับบรรณารักษ์

หลักการเขียนบรรณนิทัศน์ เขียนสั้นๆ ให้ได้ใจความชัดเจน ตรงตามความสำคัญของเรื่อง ใช้ภาษาสละสลวย ชวนอ่าน เขียนให้สมเหตุ สมผล วางใจเป็นกลาง ข้อความถูกต้อง ตรงตามเนื้อหาสาระของเรื่อง มีศิลปะในการเขียนที่ทำให้ผู้อ่านเห็นคล้อยตาม

วิธีการทำบรรณนิทัศน์ อ่านเรื่องด้วยความสนใจ ให้เข้าใจตลอดเรื่อง ยอมรับความเห็นของผู้เขียนหรือสิ่งที่แตกต่างกับ ความคิดตน เขียนรายละเอียดทางบรรณานุกรม ต่อด้วยข้อความที่เป็นลงมือเขียนบรรณนิทัศน์ เขียนในบัตรรายการหรือบัตรขนาด 4x6 นิ้ว หรือวัสดุ เหลือใช้ แล้วแต่สร้างสรรค์อะไรก็ได้

ตัวอย่างบรรณนิทัศน์ วินทร์ เลียววาริณ. รอยเท้าเล็กๆของเราเอง. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์, 2548. 239 หน้า. ราคา 185บาท. มนุษย์ทุกคนล้วนมีความฝัน แต่หลายคนผ่านมาครึ่งชีวิตก็ไม่อาจทำฝันให้เป็น จริง อุปสรรคของแต่ละคนไม่เหมือนกันของบางคนคือความกลัว ของอีกบางคนคือ ความท้อแท้ ความเศร้าหมอง ความเบื่อหน่ายเหล่านี้คือเชื้อโรคแห่งอารมณ์ที่ก่อให้เกิด อนุมูลอิสระในหัวใจบางคนกวาดขยะเข้าไปซ่อนไว้ใต้พรมหลับตาลืมมันเสีย แต่ทุกครั้ง ที่ลืมตา ปัญหาก็รออยู่ตรงหน้าเราเช่นเดิมนานวันเข้าขยะที่เก็บสะสมไว้ก็เน่าเหม็น ชีวิตที่ดีกับชีวิตที่หม่นหมองต่างกันด้วยคำๆเดียว ทัศนคติ รอยเท้าเล็กๆ ของเราเอง เล่มนี่เป็นหนังสือเสริมกำลังใจเพราะชีวิตยังมีความหมาย และเพราะคนเราทุกคน สามารถสร้างรอยเท้าให้ปรากฏบนผืนโลกถึงแม้ว่าจะจางและเล็กแต่นั้นก็เป็น รอยเท้า ของเราเองหนังเสริมเล่มนี้เหมาะสมกับบุคคลทุกกลุ่ม

ตัวอย่างบรรณนิทัศน์ ศรีบุตร แววเจริญ. คณิตศาสตร์วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: วง ตะวัน, 2540. 528 หน้า. หนังสือเล่มนี้ได้ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วย ทำให้รูปแบบของหนังสือดีมี คุณค่ายิ่งขึ้นโดยใช้โปรแกรม Equations บน Windows โดยเฉพาะการเขียนกราฟโดยโปรแกรม Mathcad Maple และ mathematical และการคำนวณค่าอินทิกรัลโดยใช้โปรแกรม Maple ซึ่งทำให้ผู้อ่านหนังสือเล่มนี้ สามารถมองเห็นโจทย์ปัญหานั้น ๆ ได้เป็นรูปธรรมและได้มองเห็นวิวัฒนาการ ความก้าวหน้าของซอฟท์แวร์ทางด้านคณิตศาสตร์แคลคูลัส เป็นวิชาที่สำคัญวิชาหนึ่ง ของสาขาคณิตศาสตร์ และเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนานำไปใช้ประยุกต์ใน สาขาวิชาต่าง ๆ ของนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร นิสิต นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาวิชา พื้นฐานให้เข้าใจถ่องแท้ก่อน และได้แยกบทสำคัญ ๆ ออกเป็น 5 บทด้วยกัน แต่ละ บทจะมีวิธีทำแสดงไว้อย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่ายขึ้น ท้ายเล่มมีเฉลย แบบฝึกหัด และภาคผนวกไว้ด้วย

ตัวอย่างแบบฟอร์มบรรณนิทัศน์ ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ์ : สำนักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. จำนวนหน้า. ภาพประกอบ. ราคา. บรรณนิทัศน์.................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................................

งาน/กิจกรรม ให้นักศึกษา เลือกหนังสือประเภทใดก็ได้ คนละ 1 เล่ม มาจัดทำบรรณนิทัศน์ พร้อมนำเสนอ ว่าดีไม่ดี อย่างไร ตามเกณฑ์การ ประเมินทรัพยากรสารสนเทศ